Page 12

จดหมายข่าวห้องสมุดพลังงานและสิ่งแวดล้อม Issue5

เมื่อหน้าร้อนเดินทางมาถึงพร้อม ๆ กับอากาศที่แสนจะร้อน อบอา้ว สงิ่ทใี่ครหลายคนคดิ ถงึ คงหนไี มพ่น้การไดเ้ดนิ ทางทอ่งเทยี่ว พักผ่อนให้คลายร้อน บางคนอาจจะมีเวลาที่จ��ำกัดในการเดินทาง ในขณะที่หลาย ๆ คนอาจจะอยากท่องเที่ยวแบบได้ความสนุกสนาน เพลินเพลิน และได้รับความรู้ไปในคราวเดียวกัน หากใครมองหา ทรปิ ท่องเท่ยี วสไตล์นี้ “อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสริ ินธร” ของ เราก็พร้อมเป็นอกี ทางเลอื กหน่งึ สำ��หรับทุก ๆ คนค่ะ แหล่งท่องเที่ยวในอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ... ห้องเรียนธรรมชาติ อทุยานสงิ่แวดลอ้มนานาชาตสิ ริ นิ ธร เปน็สถานทรี่วบรวมความรตู้ามรอยพระยคุลบาทในการฟนื้ ฟพูฒันา ส่งิ แวดล้อมป่าชายเลน ป่าชายหาด ป่าเบญจพรรณ และที่อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด ให้กลับมาอยู่ใน สภาพสมบูรณ์ดังเดิม รวมทงั้ ส่งเสรมิ การท่องเท่ยี วเชงิ นิเวศ ภายในพื้นที่ของอุยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ยังมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ ให้ได้ศึกษาเรียนรู้อีกมากมาย และอีกหนึ่งสถานที่ที่เราภูมิใจมาน��ำเสนอก็คือ ป่าชายเลนภายในพื้นที่อุทยานฯ ผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชมหรือท��ำกิจกรรม สามารถ ที่จะท่องเที่ยวและศึกษาระบบนิเวศป่าชายเลนไปพร้อมๆ กัน เรียกว่าได้ทั้ง ความรู้และความเพลิดเพลินกันเลยทีเดียวค่ะ ป่าชายเลน ระยะที่ 1 ปลูกบริเวณพื้นที่คลองบางตราน้อยและคลองบางตราใหญ่ เนื้อที่ ประมาณ 80 ไร่ตามล��ำดับ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้ป่าชายเลน จ��ำนวน 32 ชนิด (เมื่อวันท่ ี 17 สิงหาคม 2537 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด��ำเนินทรงปลูกต้นโกงกางใบใหญ่ทั้งสองแห่ง) ระยะท่ ี 2 ปลูกบริเวณพืน้ ท่สี ่วนแยกคลองบางตราน้อย มีเนื้อท่ปี ระมาณ 30 ไร่ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้ป่าชายเลน จ��ำนวน 22 ชนิด (เมื่อวันท่ ี 20 กรกฎาคม 2544 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด��ำเนินทรงปลูกต้นโกงกางใบใหญ่) ระยะท่ ี 3 ปลูกบริเวณพืน้ ท่คี ลองบางตราใหญ่ มีเนื้อท่ปี ระมาณ 100 ไร่ ประกอบ ด้วยพันธุ์ไม้ป่าชายเลน (20%) และป่าชายหาด (80%) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทยเป็นผู้ด��ำเนินการ ภายใต้การก��ำกับทางวิชาการ โดย ศ.ดร.สนิท อักษรแก้ว ปัจจุบันสภาพป่าชายเลนดังกล่าวมีความอุดมสมบูรณ์ ระบบนิเวศมีความสมดุลมีสัตว์เข้า มาอยู่อาศัย หลากหลายชนิดและหลากหลายพันธุ์ เป็นห้องเรียนธรรมชาติ ส��ำหรับศึกษา ความหลากหลายทางชวีภาพของปา่ชายเลนไดอ้กีแหง่หนึง่ของประเทศ โดยมีเสน้ทางเดนิ สะพานไม้ เพื่ออ��ำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่เที่ยวชมและศึกษาระบบนิเวศป่าชายเลน


จดหมายข่าวห้องสมุดพลังงานและสิ่งแวดล้อม Issue5
To see the actual publication please follow the link above