Page 15

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Issue1

ต่อมาการพัฒนาค้นคว้าที่เกี่ยวกับฝนหลวงได้พัฒนาก้าวหน้าขึ้น เป็นล��ำดับ นับถึงวันนี้สามารถก��ำหนดให้ฝนตกลงสู่พื้นที่เป้าหมาย ได้สíำเร็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงวิเคราะห์กรรมวิธีที่จะท��ำการ ผลิตฝนหลวง ว่ามีขั้นตอนที่สามารถเข้าใจได้ง่าย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ก่อกวน โดยการใช้สารเคมีไปกระตุ้นมวลอากาศทางด้านเหนือลมของพื้นที่ เป้าหมาย ให้เกิดการลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบนรวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อนเมฆ ฝน ขั้นตอนแรกนี้ มุ่งใช้สารเคมีไปกระตุ้นอากาศให้เกิดการลอยตัวขึ้น สู่เบื้องบน เพื่อให้เกิดกระบวนการชักน��ำไอน��้ำหรือความชื้นเข้าสู่ระดับ การเกิดเมฆ สารเคมีที่ใช้ในขั้นตอนนี้ได้แก่ สารแคลเซียมคลอไรด์ สารแคลเซียมคาร์ไบด์ สารแคลเซียมอ๊อกไซด์ หรือสารผสมระหว่าง เกลือแกงกับสารยูเรียหรือสารผสมระหว่างสารยูเรียกับสารแอมโมเนียม ไนเตรท ขั้นตอนที่ 2 เลี้ยงให้อ้วน เป็นขั้นตอนส��ำคัญมากในการปฏิบัติการ เนื่องจากเป็นระยะที่เมฆ ก��ำลังก่อตัวเจริญเติบโตจึงใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีและประสบการณ์ ผสมผสานกลยุทธ์ในเชิงศิลปะควบคู่ไปพร้อมกัน สารเคมีที่ใช้ในขั้น ตอนนี้ ได้แก่ เกลือแกง สารประกอบสูตร ท 1 (เป็นสารละลายเข้ม ข้นที่ได้จากกระบวนการอิเลคโตรไลซิส ซึ่งเป็นผลงานค้นคว้าของ ม.ร.ว. เทพฤทธิ์ เทวกุล) สารยูเรีย สารแอมโมเนียมไนเตรท นí้ำแข็งแห้ง ขั้นตอนที่ 3 โจมตี เมื่อกลุ่มเมฆฝนมีความหนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็นฝน ได้ โดยภายในกลุ่มเมฆจะมีเม็ดน��้ำขนาดใหญ่มากมาย สังเกตได้ หากเครื่องบินเข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนี้แล้ว จะมีเม็ดน��้ำเกาะตามปีก และกระจังหน้าของเครื่องบิน ดังนั้นขั้นตอนสุดท้ายยังมีความส��ำคัญ อย่างยิ่งยวด เพราะจะต้องอาศัยความช��ำนาญและประสบการณ์เป็น อย่างมาก วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Journal of the Sirindhorn International Environmental Park Since then, development and research about the royal rain making project continued progressively until the current time, when it can be claimed that controlling the rainfall on the targeted area has been achieved. According to His Majesty King Bhumibol Adulyadej’s analysis of the royal rain production procedure, there are three easily understandable stages that should be employed, as follows: Stage 1: Agitation This involves using chemicals to stimulate the air mass on the windward side in the target area so that it rises up and gathers into a cluster of rain clouds. This first state aims to use chemicals to agitate the air to rise up and induce the process of water vapor or moisture into the cloud formation stage. The chemicals used in this stage include calcium chloride, calcium carbide, calcium oxide and compounds made up of sodium chloride and urea or mixture of urea and ammonium nitrate. Stage 2: Fattening This is a very important step in the overall operation due to its growing stage of the clouds, it thus involves using knowledge of technology and experience together with some degree of artistic tactics. The chemicals used in this stage include sodium chloride, T1 (which is a compound derived from the electrolytic process as the result of a research project led by the M.R. Teparit Dhevakul, urean ammonium nitrate and dry ice. Stage 3: Attacking This stage takes place when the rain clouds are dense enough to produce rain. That is when the clouds have inside a large quantity of water drops. It is noticeable when the airplane enters the cloud cluster at this stage, then drops of water will cover its wings and front panels. This last step is of crucial importance because it requires great skill and experience. บินเหนือเมฆเพื่อเตรียมปล่อยสาร / Fly over the cloud to release the chemicals. ที่มา/source : http://www.thairoyalrain.in.th/gallery/gallery_3.php วิธีการท��ำฝนหลวงด้วยเทคนิคซุปเปอร์แซนวิช / Super sandwich technique. ที่มา/source : http://www.opsmoac.go.th/ewt_news.php?nid=2056&filename=index 15


วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Issue1
To see the actual publication please follow the link above