Page 45

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Issue1

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Journal of the Sirindhorn International Environmental Park Renewable bioenergy is a topic that has often been discussed lately. The major reason is that the prices of the formerly existing forms of petroleum fuel, oil or natural gas, have gone up continually. The causes are the world’s situations in several aspects - the nuclear problem in Iran, which has led to the boycott of oil from Iran, or even the news of economic recession in Greece and many other countries in Europe. For the prices of natural gas, the tendency can be obviously perceived that they have changed directly in correspondence to the oil prices, which clearly illustrates the fact that petroleum, which was formerly believed to be an energy resource that can be resorted to for a long time and inexpensive is probably no longer as thought. This has led to the search for renewable energy from different sources, such as solar energy, wind energy, or water energy from dams, none of which has not been able to completely substitute for fossil energy because it is a matter hard to administrate. Therefore, renewable biofuels have started to receive more attention. The possible reason is that Thailand is an agricultural country with the potential for a large production of renewable bioenergy as an inherent advantage. The increased use of bioenergy is a way to environmentally prolong the lifespan of the world in itself. เพราะข้อมูลจากโครงการพลังงานยั่งยืนไทย-เดนมาร์ก ระบุว่า รถยนต์ที่ใช้น��้ำมันเชื้อเพลิง 1 แกลลอน หรือ 3.8 ลิตรนั้น จะ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาประมาณ 22 ปอนด์ หรือ 10 กิโลกรัมเลยทีเดียว ไม่เฉพาะน��้ำมัน แต่การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง ฟอสซิลอื่น ไม่ว่าจะเป็นถ่านหินหรือก๊าซธรรมชาติ ก็ก่อให้เกิด ผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศโลก ท��ำให้เกิดปัญหาก๊าซเรือนกระจก หรือ โลกร้อนตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ค��ำถามที่น่าสนใจกว่าก็คือ พลังงานทดแทนจากชีวภาพนั้น จะสามารถนíำมาใช้ทดแทนพลังงาน จากปิโตรเลียมได้จริงหรือไม่ และทดแทนได้ในสัดส่วนเท่าใด? เมื่อพูดถึงพลังงานจากชีวภาพ อาจสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือพลังงานชีวภาพที่มาจากพืช และที่มาจากสัตว์ ส่วน ที่ได้มาจากสัตว์นั้นคงจะพอมองเห็นภาพบ้างแล้ว ก็ได้แก่การหมัก ก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ และของเสียจากปศุสัตว์ ซึ่งเป็นผลพลอยได้ ที่สามารถท��ำได้เลย และพิสูจน์กันมาแล้วมากมายว่าคุ้มค่าต่อการ ลงทุน โดยเฉพาะกรณีฟาร์มปศุสัตว์ขนาดใหญ่ ส��ำหรับพลังงาน ชีวมวลจากพืชนั้น มีอยู่ 3 รูปแบบ ได้แก่ 1) ในรูปแบบของแข็ง เช่น การท��ำเชื้อเพลิงอัดแท่ง หรือการ เผาซากพืชเพื่อให้ได้พลังงานความร้อนโดยตรง 2) ในรูปแบบของเหลว ก็ได้แก่การสกัดเอทานอลเพื่อใช้กับ ยานยนต์ หรือการสกัดน��้ำมันจากพืชน��้ำมัน เพื่อเอามาท��ำเป็นน��้ำมัน ไบโอดีเซล 3) ในรูปก๊าซ เช่น การน��ำชีวมวลมาหมักให้เกิดก๊าซมีเทน สามารถน��ำมาใช้กับเครื่องยนต์ที่ใช้ก๊าซได้โดยตรง จะเห็นได้ชัดว่า พลังงานจากชีวภาพนั้น มีทั้งในรูปแบบของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ซึ่งการเลือกที่จะผลิตเชื้อเพลิงในรูปแบบไหนก็ขึ้นกับว่าจะน��ำไปใช้ท��ำ อะไร การนíำพลังงานชีวภาพ1 ในส่วนที่เป็นของเสีย หรือของเหลือใช้ จากการเกษตรมาใช้ เช่น ระบบบ��ำบัดน��้ำเสีย หรือระบบบ่อหมัก Based on the data from the Thai-Denmark Sustainable Energy Project indicate that automobiles that consume 1 gallon or 3.8 liters of gas emit up to about 22 pounds or 10 kilograms of carbon dioxide. Not only gasoline, but the burning of other fossil fuels, whether coal or natural gas, also inevitably affects earth’s atmosphere, producing the greenhouse gases or global warming. Nevertheless, the question that is much more interesting is whether renewable bioenergy can actually substitute for petroleum energy and to what ratio. Mentioning about bioenergy, it can be divided into 2 broad groups - the one derived from plants and the one from animals. For the latter, the overall picture can probably be made out. For example, there is biogas from fermentation of manure and livestock waste, which are byproducts that are ready to be used and this method has been repeatedly proved to be investment-worthy, especially for large-scaled livestock farms. As for biomass energy from plants, there are 3 forms, namely: 1) Solid form - such as manufacturing briquette fuel or burning plant residues to directly obtain thermal energy. 2) Liquid form - such as extracting ethanol to use with automobiles or extracting oil from oil plants to use as biodiesel and 3) Gas form - such as fermenting biomass to produce methane, which can be directly used with gas-consuming engines. Obviously, the bioenergy comes in the forms of solid, liquid, and gas. To choose which form of fuel to produce depends on the purpose. Making use of bioenergy1 from waste or residue from agriculture, such as through wastewater treatment 1พลังงานชีวภาพหรือบางครั้งอาจเรียกว่าพลังงานชีวมวลคือพลังงานที่ได้จากสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ รวมถึงของเสียจากสิ่งมีชีวิต โดยพลังงานที่ได้มาจากวัสดุอินทรีย์เหล่านี้ สามารถน��ำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ โดยใช้ เทคโนโลยีต่างๆ เช่น การหมักแบบไร้อากาศให้ได้ก๊าซชีวภาพ การเผาไหม้โดยตรงในรูปของเชื้อเพลิงอัดแท่ง หรือแม้แต่การหมักให้เกิดเอทานอล 45


วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Issue1
To see the actual publication please follow the link above