Page 48

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Issue1

ล้านหน่วย/Million units 360,000 320,000 280,000 240,000 200,000 160,000 120,000 80,000 40,000 0 ที่มา : กระทรวงพลังงาน Source : Ministry of Energy ตารางที่ 1 สัดส่วนเชื้อเพลิงตามแผนพัฒนาก��ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 Table 1 Fuel Ratio According to Power Development Plan (PDP), 3rd Revised Edition. 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573 ปี 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 2024 2025 2026 2027 2028 2029 2030 Year จึงได้สร้างชุดเครื่องยนต์ใช้ก๊าซชีวภาพพร้อมติดตั้งเครื่องสูบน��้ำ 1 ชุด และได้พัฒนารูปแบบถังหมักก๊าซชีวภาพจากแบบถังลอย เป็น ถังหมักก๊าซชีวภาพแบบถังรูปโดม ทูลเกล้าฯ ถวาย เพื่อใช้เป็น ต้นแบบ ณ โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา เมื่อวันพืชมงคล ในปี 2526 จากข้อมูลที่กล่าวมานี้ จะเห็นได้ว่า ในส่วนของการ ผลิตก๊าซชีวภาพนัน้ ถอืไดว้า่เป็นโครงการทีค่มุ้คา่กบัการลงทนุอย่าง ยิ่ง เพราะต้นทุนของวัตถุดิบนั้นไม่มี และเป็นการช่วยลดก๊าซมีเทน ที่จะปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศ เป็นการลดโลกร้อนไปในตัวด้วย แต่เมื่อมองที่ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้จากชีวภาพโดยภาพ รวมในปัจจุบัน เทียบกับปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่เราใช้ทั้งประเทศ กว่า 25,000 เมกกะวัตต์นั้น ถือว่าทดแทนได้เพียงไม่ถึงร้อยละ 1 เท่านั้น โดยตามแผนพัฒนาพลงังานทดแทน 15 ปี (ดังแสดงไวใ้น ตารางที่ 1) และแผนพัฒนาก��ำลังผลิตไฟฟ้า (Powe r Development Plan) 2555 ของ กระทรวงพลังงาน ในอนาคตอีก 15 ปีข้างหน้า พลังงานจากชีวภาพ ทั้งชีวมวล ก๊าซชีวภาพ และ ขยะ รวมกันแล้วยังไงก็ไม่เกินร้อยละ 3 ของปริมาณความต้องการ พลังงานที่เราใช้กันอยู่ และเป้าหมายของการน��ำพลังงานทดแทน ทุกรูปแบบมาใช้ก็อยู่เพียงร้อยละ 15 ของพลังงานพื้นฐานเท่านั้น ดังแสดงไว้ในตารางที่ 2 และตารางที่ 3 อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่จะไม่มีหนทางในการเพิ่มสัดส่วนพลังงาน ทดแทนเอาเสียเลย เพียงมีการวางแผนการพัฒนาพื้นที่ และเลือก ชนิดของพืชที่เหมาะสม ซึ่งก็มีอยู่หลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น มันส��ำปะหลัง อ้อย ปาล์มน��้ำมัน มะพร้าว สบู่ด��ำ หรือแม้กระทั่ง However, this does not mean that there is no way to increase the ratio of renewable energy. Only if an area development plan is made and the suitable types of plants are selected, of which there are many - cassava, sugar cane, oil palm, coconut, physic nut or even some kinds of algae. These plants are considered energy plants because certain parts can be processed into fuels of different forms - biomass, biogas, ethanol, or biodiesel. There are only 2 problems in using bioenergy. That is, there is not enough area for the production of the biological raw-materials mentioned because most of the area is needed for growing food plants. If the energy production is hurried, food scarcity can occur. Another factor is time; it takes considerable time before plants or animals can grow to the point of being usable, but the consumption of the energy produced is so easy and rapid. Take a simple question for example - how long does it take to produce 1 liter of biodiesel and how long does it take to use that 1 liter of gasoline on an automobile? Now, you probably have the answer in your mind already whether renewable bioenergy can substitute for petroleum energy, and how much. Since, if look at table 4, we can see that the growth of renewable bioenergy along with biomass is already at its highest level, due to reasons as discussed. Still, you should be proud of that Thailand is one among the nations of the world with the highest bioenergy potential. What matters is whether you know how to use it to the full capacity…. ดีเซล / Diesel พลังงานหมุนเวียน / Renewable energy น��้ำมันเตา / Fuel oil EGAT - TNB* ก๊าซธรรมชาติ / Natural gas ถ่านหินน��ำเข้า / Imported coal ลิกไนต์ / Lignite นิวเคลียร์ / Nuclear *สายส่งเชื่อมระหว่างการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ.-EGAT) กับ ทีเอ็นบี (Tenaga Nasional Berhad- TNB) สายส่งไทยมาเลเซีย *Transmission line between the Electricity Generating Authority (EGAT) and the TV NBC (Tenaga Nasional Berhad), Thailand -Malaysia grid. 48 พลังงาน / Energy 15% 15% 16% 18% 18% 18% 18% 18% 19% 19% 19% 19% 19% 19% 15% 14% 14% 14% 14% 64% 10% 64% 9% 63% 10% 62% 10% 61% 11% 59% 11% 59% 11% 59% 12% 59% 12% 59% 12% 60% 12% 58% 12% 56% 12% 54% 13% 56% 13% 57% 13% 65% 9% 68% 9% 67% 8%


วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Issue1
To see the actual publication please follow the link above