วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Journal of the Sirindhorn International Environmental Park The editorial team was kindly given opportunity speak to Prof. Dr. Sanit Aksornkoae, who is an expert on mangrove forests and Chairman of Executive Board Energy for Environment Centre and the Sirindhorn International Environmental Park. He is also a board member of university council and an expert of various institutions. Perhaps most important, he has been selected to be the president of the International Society for Mangrove Ecosystems (ISME), ศาสตราจารย์ ดร. สนิท อักษรแก้ว which has a membership of more than 120 countries from all over the world. He provided us with knowledge on nature and mangrove forest conservation as well as lots of supplementary information, as known as an expert with full of experiences for 40 years in mangrove forest. He started his work before the Thai people even knew what mangrove forests were and how importance were they. Until now one of his proudest achievements is that most people, even little children, know what mangrove forests are. So, the editorial team would now like to tell you more about nature and mangrove forest conservation from the perspective of Prof. Dr. Sanit Aksornkoae, who is the real master (grandfather) of the mangrove forest. Background Mangrove forest is a real kingdom of living things, both flora and f auna. Mangrove forest is a plant community that is commonly found in coastal areas near estuaries, canals, lakes and on the borders of islands and islets. These are areas that can be submerged by sea water and covered partly by brackish water which is a mixture of freshwater from land and sea water from the sea. Thailand has a coastline of about 2,667 kilometres and about 50% of that is muddy shore, which includes almost the whole length of the coastline in the Gulf of Thailand, of 1,653 kilometres, covering 18 different provinces (including Bangkhunthian district of Bangkok) The coast of the Andaman Sea, is about 1,014 kilometres long and covers six provinces. The coastal area is considered to be a significant economic basis of the country since it is an area with lots of valuable natural resources, including mangrove forests, sea grass, coral reefs and ซึ่งมีสมาชิกกว่า 120 ประเทศทั่วโลก ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติและการอนุรักษ์ป่าชายเลน พร้อมทั้งให้ข้อมูลประกอบ มากมาย สมกับเป็นผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในเรื่องป่า ชายเลนมากว่า 40 ปี ที่ได้เริ่มทำงานตั้งแต่คนไทยส่วนใหญ่ยัง ไม่รู้จักว่าป่าชายเลนคืออะไร มีความสำคัญอย่างไร จนมาบัดนี้ หนึ่งในสิ่งที่ท่านภูมิใจก็คือ คนส่วนใหญ่ หรือแม้กระทั่งเด็กเล็กๆ ก็ รู้จักป่าชายเลนกันแล้ว จากนี้ไปกองบรรณาธิการขอเล่าเรื่องราวถึง ธรรมชาติและการอนุรักษ์ป่าชายเลน ผ่านมุมมองของ ศ.ดร.สนิท อักษรแก้ว ครู (ปู่) ป่าชายเลนตัวจริง ปูพื้นฐาน ป่าชายเลนเป็นอาณาจักรของสรรพสิ่งที่มีชีวิตรวมทั้งพืชและ สัตว์ ป่าชายเลนเป็นสังคมพืชที่ชอบขึ้นอยู่ทั่วไปบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลบริเวณปากอ่าว ลำคลอง ทะเลสาบ และรอบเกาะแก่งต่างๆ ซึ่งเป็นบริเวณที่มีน้ำทะเลท่วมถึง เป็นพื้นที่ที่มีน้ำกร่อย คือ น้ำจืดจากบนบกและน้ำทะเลจากทะเล ผสมผสานกันเป็นน้ำกร่อย โดยพื้นที่ชายฝั่งทะเลของไทยประมาณ 2,667 กิโลเมตร มีชายฝั่ง ที่เป็นดินเลนความยาวประมาณร้อยละ 50 ของความยาวชายฝั่ง ทั้งหมด คือ ชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยมีความยาวประมาณ 1,653 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งทะเลรวม 18 จังหวัด (รวมเขต บางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร) ชายฝั่งทะเลด้านอันดามันมีความ ยาวประมาณ 1,014 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งทะเลรวม 6 จังหวัด พื้นที่ชายฝั่งทะเลนับเป็นฐานเศรษฐกิจที่สำคัญของ ประเทศ เนื่องจากเป็นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่ทรงคุณค่า มากมาย เช่น ป่าชายเลน หญ้าทะเล แนวปะการัง และอื่นๆ อีกทั้งเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวสูง ดังนั้น พื้นที่จึง ได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์เป็นอย่างมากมีการบุกรุก เปลี่ยนแปลง สภาพพื้นที่ด้วยปัจจัยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการตั้งชุมชน การ ประกอบอาชีพการทíำนากุ้ง การนันทนาการและการท่องเที่ยว เชิงนิเวศ Professor Dr. Sanit Aksornkoae 53
วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Issue1
To see the actual publication please follow the link above