Page 55

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Issue1

for animals. Thorough investigation of mangrove forests both here in Thailand and overseas has yielded a great deal of information about the creatures living in mangroves. These include mangrove shrimps, or shrimps living in brackish water, for 15 kinds, Fishes living in mangroves are about 72 types, which can be divided into 4 gro ups: permanent inhabitants, temporary inhabitants, fish coming along with the current or tide and fish that are found only in certain seasons. There are also around 30 kinds of mangrove forest crabs, which play an important part in the mangrove forest food chain and in nutrient circulation. Mangrove forest molluscs include those that cling to trunks, roots, branches and leaves of mangroves and those that hold on to the soil surface. There are approximately 22 kinds of single-valve molluscs and 4 types of bivalve molluscs. In addition, there are some 88 types of mangrove forest birds, both migratory and local birds, which makes the forests a kind of bird airport, as well as 35 kinds of mammals, including monkeys, otters, wild cats and bats, 25 types of reptile and 38 types of insect. Mangrove forests have very high levels of biodiversity because, other than animals, they also have many types of plants living in them. These include perennial plants, epiphytes, vines and seaweeds, about 74 different types altogether. Most of the vegetation consists of evergreen plants that are good-resistant to saline conditions. Survey results indicate that mangrove forest plants can provide some 44 different types of herbal medicines, including sea holly and blind-your-eye, while the resin in the bark of the yellow mangrove tree can cure shingles, and edible plants for 33 types. Moreover, mangrove forest plants are also useful in wasterwater treatment because their root systems absorb oxygen during the ebb tide and release oxygen during the rising tide. This is easily noticeable: when the tide rises, air bubbles can be seen rising up. This oxygen is an auxiliary agent in the decomposition of organic matter. In terms of climate change, there is a great deal of fluctuation. The mangrove forest is considered to be a hero against global climate change both because it is able to absorb carbon dioxide, which is a cause of greenhouse effect, four times more effectively than inland forest does and, also, because it represents a very efficient natural wall for the coast to fend off waves. If a tsunami should strike the coast, then the mangrove forest provides an immediate form of obstruction to it. For example, during the tsunami of 2006, there were a village in Ranong in which the people and buildings were kept safe. Research showed that for a mangrove forest with a depth of one kilometre, only around 20-30 metres of forest was destroyed by tsunami. The trees that were felled were ประมาณ 22 ชนิด และหอยสองฝาประมาณ 4 ชนิด สัตว์ชนิด อื่นๆ ในป่าชายเลน ได้แก่ นกในป่าชายเลนมีทั้งประเภทอพยพและ นกท้องถิ่น ที่มีมากถึง 88 ชนิด จนถือได้ว่าเป็นท่าอากาศยานของ นกเลยทีเดียว นอกไปจากนั้นยังมีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ประมาณ 35 ชนิด เช่น ลิง นาก แมวป่า และค้างคาว มีสัตว์เลื้อยคลานอีก ประมาณ 25 ชนิด และแมลงอีก 38 ชนิดอีกด้วย จะเห็นได้ว่าป่าชายเลนมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงมาก เพราะนอกจากสัตว์แล้ว ยังประกอบไปด้วย พืชหลายชนิด ซึ่งรวม ถึงไม้ยืนต้น พืชอาศัย เถาวัลย์และสาหร่าย ซึ่งมีอยู่ประมาณ 74 ชนิด ซึ่งพันธุ์ไม้ส่วนใหญ่เกือบทั้งหมดเป็นพันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบ และมี ความทนทานต่อสภาพความเค็มได้ดี จากผลการส��ำรวจยังพบพืชใน ป่าชายเลนสามารถนำ��มาเปน็ยาสมุนไพรไดป้ระมาณ 44 ชนดิ เชน่ เหงือกปลาหมอ ตาตุ่มทะเล ยางในเปลือกของโปรงแดง ใช้รักษา งูสวัดได้ และพืชที่รับประทานได้ 33 ชนิด นอกจากนั้นพืชพันธุ์ใน ป่าชายเลนยังชว่ยในการบำíบัดน้ำíเสีย เนื่องจากระบบรากของมันจะ ดูดออกซิเจนในช่วงเวลาน��้ำลง และปล่อยออกซิเจนในช่วงเวลาน��้ำ ขึ้น สังเกตได้ง่ายๆ เวลาน้��ำขึ้นจะเห็นฟองอากาศผุดออกมา ออกซิเจนพวกนี้เป็นตัวช่วยในการสลายอินทรียวัตถุ ส��ำหรับสถานการณ์ด้านความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผันผวนอย่างมาก ป่าชายเลนก็ถือได้ว่าเป็นฮีโร่ เพราะนอกจากจะ สามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะเรือน กระจก ได้ดีกว่าป่าบกประมาณ 4 เท่าแล้ว ป่าชายเลนยังเป็น ก��ำแพงชายฝั่งที่มีประสิทธิภาพมาก เป็นก��ำแพงธรรมชาติที่ป้องกัน คลื่นลม เวลามีสึนามิมาแล้วกระทบกับป่าชายเลนมันจะหยุดทันที อย่างหมบู่้านทีร่ะนอง สมยัทีเ่กิดสึนามใินหลายปทีี่ผา่นมา หม่บู้าน และชีวิตก็ปลอดภัย ซึ่งหลังจากนั้นก็ได้มีการศึกษาเพิ่มเติม อย่าง เช่นป่าชายเลนลึกประมาณ 1 กิโลเมตร หลังจากมีสึนามิผ่านไปเรา ไปดูพบว่าป่าชายเลนพังเป็นระยะทางเพียงเล็กน้อยประมาณ 20-30 เมตรเท่านั้น คือป่าชายเลนจะมีต้นไม้ล้มแต่ไม้เล็กๆ ที่อยู่ข้างหน้า แต่โกงกางขนาดใหญ่ๆ อายุสัก 15-20 ปี ซึ่งก็จะสูงประมาณ 15 เมตร สึนามิสูงสัก 10 เมตร มันก็หยุดหรือชะลอความเร็วลงมาก (รายละเอียดเชิงลึกสามารถหาอ่านได้จากหนังสืออิทธิพลสึนามิกับ ผลกระทบป่าชายเลน ที่สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย หนังสือเป็นภาษา อังกฤษชื่อ Tsunami Index for Mangrove Ecosystem) แถม ท้ายด้วยการเป็นที่ศึกษา พักผ่อนหย่อนใจของมนุษย์อีกด้วย นกในป่าชายเลน / Bird is in mangrove forest. วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Journal of the Sirindhorn International Environmental Park 55


วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Issue1
To see the actual publication please follow the link above