Page 58

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Issue1

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม / Natural Resource and Environment ตารางที่ 1 การลดลงของพื้นที่ป่าชายเลนระหว่างปี พ.ศ. 2504-2539 Table 1 Decrease of mangrove forest areas between 1961-1996 หมายเหตุ: 1 เฮกแตร์ เท่ากับ 6.25 ไร่ Remark: 1 Hectares = 6.25 Rai ที่มา: สนิท อักษรแก้ว และคณะ 2546. โครงการการจัดการสวนป่าชายเลนแบบผสมผสานเพื่อการพัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมบริเวณชายฝั่งทะเลของประเทศไทย. หน้า 6. Source: Sanit Aksornkoae et. al. (2003), the Project of Mixed Integrated Mangrove Forest Management for Resource and Environmental Development on Thailand’s Seacoasts, p.6. “ปี 2549 มี พื้นที่ป่าชายเลนประมาณ 1,460,000 ไร่ (เป็นตัวเลขประมาณการ ซึ่งยังไม่มีการส�ำ รวจภาคพื้นดินที่แน่นอนแต่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา)” “In 2006, there were about 233,600 hectares of mangrove forest. (This is an estimate; there has not been a certain ground truth survey but there has been a tendency to increase during the past 10 years.)” อย่างไรก็ตามผ้ทูี่จะอนุรักษป์่าชายเลนไดดี้ที่สุดคือ ชุมชนชายฝ่งั ทะเล เนื่องจากหากชุมชนสูญเสียป่าชายเลนไปแล้ว ผลกระทบจาก การด��ำรงชีพจะชัดเจนกว่ากลุ่มอื่นๆ ดังนั้น การอนุรักษ์ที่ดีเราต้อง ทíำร่วมกับชุมชน ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมทุกระยะอย่างต่อเนื่อง ให้เขาช่วยดูแล ป้องกันและปลูกป่า ส่วนรัฐเองก็ต้องให้ข้อเสนอแนะ ในเชิงวิชาการ ให้ความรู้ ส่วนภาคเอกชนก็ให้เงินสนับสนุน หาก ช่วยกันหลายๆ ภาคส่วน ใครช่วยตรงไหนได้ก็ช่วย เพราะยังมีพื้นที่ ที่ควรปลูกเสริมอีกมาก เป็นพื้นที่เลนงอกใหม่ เช่น บริเวณอ่าวไทย (สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เขตบางขุนเทียน) เนื่องจากชายฝั่งมัน พังทลายลงอย่างมาก เป็นระยะทางหลายกิโลเมตรและเป็นพื้นท ี่ ป่าเสื่อมโทรมอีกด้วย ส่วนการอนุรักษ์ป่าชายเลนที่มีสภาพดีอยู่แล้ว ก็ต้องพยายาม รักษาให้ดีต่อไป และใช้ประโยชน์ไปพร้อมๆ กับการอนุรักษ์ ตวัอยา่งเชน่ เราจบักุ้ง หอย ป ูปลา เวลาเราจบัมาพบวา่ตวัทีม่ไีข่ ก็ต้องเอาไปปล่อย และจับเฉพาะนอกฤดูวางไข่ ตัวอย่างเช่น ชุมชน บ้านเปร็ดใน จังหวัดตราด เขาสามารถอนุรักษ์ป่าชายเลนไปพร้อมๆ กับการเลี้ยงปูแสมได้ ชุมชนเองก็ศึกษาวิจัย ว่าควรจะจับฤดูไหน จíำนวนเท่าไหร่ ทíำให้เขามีอาชีพอย่างยั่งยืน ในส่วนของการป้องกันรักษา ต้องช่วยกันดูแลรักษาไม่ให้ มีผู้เข้าไปบุกรุกท��ำลาย ต้องช่วยกันเป็นหูเป็นตา เห็นใครบุกรุกก็ต้อง แจ้งไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง นั่นก็คือ กรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ง หรือจะเป็นกรมอุทยานแห่งชาติ พันธุ์สัตว์ป่าและ พันธุ์พืช หรือจะเป็นกรมป่าไม้ก็ได้ ส่วนใครที่ยังไม่เคยมีโอกาสได้ปลูกป่าชายเลนไม่ว่าด้วยเหตุผล ใดก็ตาม อยากให้พาตัวเองและครอบครัวไปปลูกสักครั้ง และต้อง รีบหน่อยด้วย เพราะการปลูกต้นไม้ในป่าชายเลน กว่าต้นไม้จะไป เป็นป่าธรรมชาติต้องใช้ระยะเวลาอย่างน้อย 6 ปี ถึงจะได้เรียก ความหลากหลายทางชีวภาพกลับมาได้ เราจะได้มีโลกที่น่าอยู่ อาหารการกินอุดมสมบูรณ์ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารทะเล) ต่อไป เพราะไม่มีใครในโลกนี้ไม่พึ่งป่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งป่าชายเลน ทั้ง เรื่องอาหารการกินและเรื่องที่ส��ำคัญยิ่งคือ เรื่องสภาวะการ However, the people who can best conserve mangrove forests are those coastal communities who will suffer greatly more than other communities if they lose their mangrove forests. Good conservation is best approached with the cooperation of these communities, who participate at every stage, taking care of, protecting and planting forests. As for the government, it is responsible for providing recommendations and knowledge based on academic research, while the private sector should provide financial support. With contributions from all quarters, everyone should work together to do what they can because there is still an important need to create new mangrove forest area, particularly in mud flat areas along the Gulf of Thailand (Samut Songkhram, Samut Sakhon and Bangkhunthian distrct). It is important that we do this because much of the coast has been eroded for a distance of many kilometres and these are areas of degraded forest. For the conservation of mangrove forests that are in good condition, then the health of the forests must be continually sustained, and utilisation and conservation should go hand in hand. For example, when catching shrimps, molluscs, crabs and fish, these should be inspected and any carrying roe should be returned. They should not be caught during the spawning season. This is an example case at the Ban Pred Nai community in Trat, where people are able to conserve the mangrove forest while raising sea crabs in the same time. The community itself does research concerning which season to catch the crabs and how many can be safely caught and this means they have a sustainable occupation. In terms of protection and preservation, we must work together to prevent invaders from coming in to destroy the wildlife. We must look after these areas. If ปี/Year พื้นที่ป่าชายเลน Mangrove Forest Area พื้นที่การท��ำลาย Destroyed Area อัตราการท��ำลาย Destruction Rate ไร่ Hectares ไร่ Hectares ร้อยละ / % ไร่/ปี Hectares/Year ร้อยละ / % 2504 (1961) 2,299,375 367,900 - - - - - - 2518 (1975) 1,954,575 312,732 344,800 551,168 15.00 24,628 3,940 7.10 2522 (1979) 1,795,675 287,308 503,700 80,592 21.90 27,983 4,477 5.50 2528 (1985) 1,679,335 268,693 620,040 99,206 26.90 25,835 4,133 4.00 2529 (1986) 1,227,674 196,427 1,071,701 171,472 46.60 42,868 6,858 4.00 2536 (1993) 1,054,266 168,682 1,245,109 199,217 54.10 38,909 6,225 3.10 2539 (1996) 1,047,390 167,582 1,251,985 200,317 54.40 35,771 5,723 2.80 58


วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Issue1
To see the actual publication please follow the link above