Page 29

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงปลูกต้นไม้ในโครงการ “ปลูกเพื่อโลก! ปลูกเพื่ออนาคต!- โครงการต้นไม้พันล้านต้น” ในประเทศไทย HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn plants tree in campaign “Plant for the Planet! Plant for the Future!-The Billion Tree Campaign”. In addition, being a learning center on conservation of natural resources and environment, building environmental awareness in young people and general people on realizing the importance of tree planting in order to reduce the impact of climate change, SIEP has been part of “Plant for the Planet! Plant for the Future!- The Billion Tree Campaign” in Thailand in cooperation with the Foundation for Global Peace and Environment of Japan, the World Environmental Organization, the Department of Environmental Quality Promotion, Ministry of Natural Resources and the Environment, Thailand. This project has been started since 2008 and was divided into three phases. In the first phase, five types of trees were planted by HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn along the beach nearby Bang Tra Noi canal on Saturday, July 19, 2008; Barringtonia asiatica, Derris indica, Diospyros areolata, Syzygium cumini, and Manilkara hexandra. Phase 2, which is started in 2009, involved planting trees in temples and schools in Cha-am District, Ta Yang District, and Kaeng Krachan District, Phetchaburi Province. This phase finished in November, 2010, where 15 participating schools and temples had completed their activities. Phase 3 is currently in action and focuses on mangrove planting in SIEP area. As a learning center and a demonstration site for energy and environment, SIEP is accredited by the United Nations University as a Regional Centre of Expertise on Education for Sustainable Development (RCE) on March 28, 2008, SIEP now has been visited by more than 80,000 people yearly. From the time HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn had planted the first mangrove tree in coastal area at Mrigadayavan Palace, SIEP today has been developed considerably in conservation of energy, natural resources and environment, building awareness in conservation for young generation, and generating new knowledge in natural conservation and utilization. SIEP Foundation, continually supports SIEP activities to accomplish the proposed objectives and to continue the Royal development projects. นอกจากนี้ ในการเป็นแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติเพื่อ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สร้างจิตสำนึกแก่ เยาวชนและประชาชนให้เห็นความสำคัญของการปลูกต้นไม้ และ ช่วยลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ อุทยาน สิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ “ปลูกเพื่อโลก! ปลูกเพื่ออนาคต!-โครงการต้นไม้พันล้านต้น” ใน ประเทศไทย โดยความร่วมมือของมูลนิธิเพื่อสันติภาพและ สิ่ง แ ว ด ล้อ ม โ ล ก ( Foundation of Global Peace and Environment-FGPE) แห่งประเทศญี่ปุ่น องค์การสิ่งแวดล้อมโลก กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกรมส่งเสริม คุณภาพสิ่งแวดล้อม และมูลนิธิอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติ สิรินธรฯ ซึ่งได้มีการดำเนินโครงการมาตั้งแต่ ปี 2551 แบ่งออกเป็น ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 และระยะที่ 3 โดยในระยะแรกเป็นการรณรงค์ ปลูกต้นไม้พื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ซึ่งได้รับ พระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการเสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดกิจกรรมปลูกต้นไม้ใน โครงการฯ และทรงปลูกต้นไม้จำนวน 5 ต้น ได้แก่ ต้นจิกทะเล ต้น หยีทะเล ต้นมะพลับ ต้นหว้าและต้นเกด ณ บริเวณชายหาด ปากคลองบางตราน้อยเมื่อวันเสาร์ที่ 19 กรกฎาคม 2551 ใน ระยะที่ 2 (เริ่มในปี 2552) จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ในพื้นที่วัดและ โรงเรียนในอำเภอชะอำ อำเภอท่ายาง และอำเภอแก่งกระจาน ซึ่งได้ ดำเนินการเสร็จสิ้นในเดือนพฤศจิกายน 2553 รวมจำนวนวัดและ โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งสิ้น 15 แห่ง ปัจจุบัน อยู่ระหว่างการ ดำเนินงานในระยะที่ 3 โดยมุ่งเน้นจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลนใน พื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จากการเป็นศูนย์การเรียนรู้และสาธิต ด้านการอนุรักษ์ พลังงานและสิ่งแวดล้อม อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธรจึงได้ รับการรับรองจากมหาวิทยาลัยสหประชาชาติ ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ ในภูมิภาคเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Regional Centre of Expertise on Education for Sustainable Development) หรือ RCE Cha-am ตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2551 ทำให้มีผู้เข้ามา เยี่ยมชมและเข้ารับการฝึกอบรมกว่าปีละ 80,000 คน ในปัจจุบัน นับตั้งแต่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงปลูกโกงกางต้นแรกบริเวณชายฝั่งพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ใน วันนี้อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ได้ขยายผลงานไปสู่งาน ด้านการอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลูกฝังจิตสำนึกให้กับเยาวชน พร้อมศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้ใหม่ๆ ในการดูแลรักษาและใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ โดยมีมูลนิธิอุทยาน สิ่งแวดลอ้มนานาชาติสิรินธร ในพระราชูปถัมภส์มเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (มอนส) ดำเนินการบริหารจัดการให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ มุ่งเน้นการสืบสานงานตามแนวพระราชดำริ และ เทิดพระเกียรติแด่องค์พระราชูปถัมภ์ วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Journal of the Sirindhorn International Environmental Park 29


วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์
To see the actual publication please follow the link above