Page 31

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์

preparednesses for disasters. Many people were still skeptical why there were so many people dead. Considering of Figure 2, which was taken from the actual locations of the Shaolin village (city of Kaoshiung), showed conditions before and after the events. The mudslide buried more than 100 people in this village. Many questions then had arisen as to the national disaster management system of Taiwan. The rescue teams, including soldiers and civil servants had not received any orders to get into the area after four days. Additionally, the Taiwan government (on August 11, 2009) by the Minister of Foreign Affairs refused any assistance from overseas. As a consequence the popularity of the government declined immediately. Based on the case of Taiwan, Thailand should have come up with an important case study because if we were to face something like this we would not know what would happen. The next few days (September 25-27, 2009) typhoon Ketsana hit the Philippines (Figure 3) with approximately 424 mm of rainfall in 12 hours, resulted in many cities inundated. The death toll was more than 100 people and the economic and social losses were severe up to the point that the government had to call for an emergency assistance from other countries. Recently, a large scale flood caused by La Nina phenomenon induced a heavy rain (> 200 mm/day) to the northeast of Australia continent starting from Queensland, particularly in Brisbane (Figure 4). The upstream ทำไมจึงมีผู้เสียชีวิตมาก ลองพิจารณา (รูปที่ 2) ซึ่งถ่ายภาพจาก สถานที่จริงของหมู่บ้านเส้าหลิน (Shaolin) (เมืองกาสง-Kaoshiung) สภาพก่อน และหลังเกิดเหตุการณ์ ซึ่งพบว่าเกิดโคลนถล่มฝังร่าง ผู้เสียชีวิตกว่า 100 คน ในหมู่บ้านแห่งนี้ ทำให้เกิดคำถามตามมา มากมายถึงระบบการบริหารจัดการภัยพิบัติของประเทศไต้หวัน หน่วยกู้ภัย รวมทั้งทหาร และพลเรือนไม่ได้รับคำสั่งใดๆ ให้เข้าไปยัง พื้นที่ ภายหลังจากเหตุการณ์ผ่านไป 4 วัน นอกจากนี้รัฐบาล ไต้หวัน (วันที่ 11 สิงหาคม 2552) โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศกลับออกมาปฏิเสธความช่วยเหลือจากต่างประเทศ ทำให้ความนิยมในตัวรัฐบาลตกต่ำลงเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นทันที กรณีตัวอย่างสำหรับเหตุการณ์ในครั้งนี้ ประเทศไทยน่าจะใช้เป็น กรณีศึกษาที่สำคัญ เพราะถ้าเราเผชิญอย่างนี้อะไรจะเกิดขึ้น ถัดมาเพียงไม่กี่วัน (25-27 กันยายน 2552) พายุไต้ฝุ่นกิสนา (Ketsana) เข้าถล่มประเทศฟิลิปปินส์ (รูปที่ 3) ด้วยปริมาณฝนตก ประมาณ 424 มม.ใน 12 ชั่วโมง ส่งผลให้หลายเมืองจมอยู่ใต้น้ำ รูปที่ 1 พายุไต้ฝุ่นมรกตถล่มประเทศไต้หวันระหว่างวันที่ 7-10 สิงหาคม 2552 Figure 1 Typhoon Morakot clashed Taiwan during August 7-10, 2009. รูปที่ 2 สภาพก่อนและหลังเหตุการณ์ไต้ฝุ่นพัดถล่มที่หมู่บ้านเส้าหลิน (Taiwan Communique, 2009) Figure 2 Conditions before and after the event of typhoon hit the Shaolin village (Taiwan Communique, 2009). วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Journal of the Sirindhorn International Environmental Park 31


วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์
To see the actual publication please follow the link above