Page 20

การใช้พืชทนเค็มเพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็มชายทะเลใน พื้นที่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร

สรุป 1. หญ้า Dixie มีเปอร์เซ็นต์การรอดตายมากที่สุด และพบว่า หญ้า Seabrook มีการเจริญเติบโต น้ าหนักสด และน้ าหนักแห้ง มากที่สุด 2. หญ้า Seabrook มีการสะสมธาตุอาหารได้ดีที่สุด โดยเฉพาะไนโตรเจน และโซเดียม 3. การปลูกหญ้า Seabrook ส่งผลให้ดินค่าการน าไฟฟ้าลดลง ปริมาณโซเดียมลดลง และดินมี ความอุดมสมบูรณ์เพิ่มขึ้น มากกว่าการปลูกหญ้าชนิดอื่นๆ เอกสารอ้างอิง ดนัย บุญเกียรติ. 2555. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช. สรีรวิทยาของพืช. ที่มา http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/teacher.htm. 16 มีนาคม 2555. รังสรรค์ อิ่มเอิบ ประสิทธิ์ ตันประภาส และสุทัส โปรษยกุล 2537 การคัดเลือกหญ้าทนเค็มที่ปลูกในดินเค็ม ชายทะเลอ่าวคุ้งกระเบน รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ กองอนุรักษ์ดินและน้ า กรมพัฒนาที่ดิน ยงยุทธ โอสถสภา. 2555. อินทรียวัตถุในดิน : หัวใจห้องหนึ่งของดิน. ที่มา http://www.dryongyuth.com. 21 มี.ค. 2555. สมศรี อรุณินท์ 2539 ดินเค็มในประเทศไทย กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 251 หน้า ส านักส ารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน 2549 ดินปัญหาของประเทศไทย กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ 13 หน้า อรุณี ยูวะนิยม และสมศรี อรุณินท์ 2539 ก กลไกความทนเค็มของพืชชอบเกลือ รายงานผลการวิจัยฉบับ สมบูรณ์ กองอนุรักษ์ดินและน้ า กรมพัฒนาที่ดิน อรุณี ยูวะนิยม และสมศรี อรุณินท์ 2539 ข การคัดเลือกพันธุ์พืชชอบเกลือ รายงานผลการวิจัยฉบับ สมบูรณ์ กองอนุรักษ์ดินและน้ า กรมพัฒนาที่ดิน Gallagher, J.L. 1979. Growth and element compositional response of Sporobolus virginicus (L.) Kunth to substrate salinity and nitrogen. Am. Mid. Nat. 102:68-75. Gibbons, E. 1982. Stalking the Wild Asparagus, David Makay Co., New York.


การใช้พืชทนเค็มเพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็มชายทะเลใน พื้นที่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร
To see the actual publication please follow the link above