ท้าไมกระทงส่วนใหญ่เป็นรูปดอกบัว ในหนังสือต ารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ หรือต านานนางนพมาศ ซึ่งเป็นพระสนมเอก ของ พระมหาธรรมราชาลิไทยหรือพระร่วง แห่งกรุงสุโขทัย ได้กล่าวถึงวันเพ็ญเดือนสิบสองว่าเป็น เวลาเสด็จประพาสล าน้ า ตามพระราชพิธีในเวลากลางคืน และได้มีรับสั่งให้บรรดาพระสนม นางในทั้งหลาย ตกแต่งกระทงประดับดอกไม้ธูปเทียน น าไปลอยน้ าหน้าพระที่นั่ง ในคราวนั้น ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ หรือนางนพมาศพระสนมเอก ก็ได้คิดประดิษฐ์กระทงเป็นรูปดอกบัวกมุทขึ้น ด้วยเห็นว่าเป็นดอกบัวพิเศษ ที่บานในเวลากลางคืนเพียงปีละครั้งในวันดังกล่าว สมควรท าเป็น กระทงแต่งประทีป ลอยไปถวายสักการะรอยพระพุทธบาท ซึ่งเมื่อพระร่วงเจ้าได้ทอดพระเนตร เห็น ก็รับสั่งถามถึงความหมาย นางก็ได้ทูลอธิบายจนเป็นที่พอพระราชหฤทัย พระองค์จึงมีพระ ราชด ารัสว่า "แต่นี้สืบไปเบื้องหน้าโดยล าดับ กษัตริย์ในสยามประเทศ ถึงกาลก าหนดนักขัตฤกษ์ วันเพ็ญเดือน 12 ให้น าโคมลอยเป็นรูปดอกบัว อุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานที ตราบ เท่ากัลปาวสาน" ด้วยเหตุนี้ เราจึงเห็นโคมลอยรูปดอกบัวปรากฏมาจนปัจจุบัน ซึ่งมีการรณรงค์ ให้น าวัสดุธรรมชาติ มาประดิษฐ์กระทงในรูปแบบต่างๆ เพื่ออนุรักษ์แม่น้ าล าคลองให้ใสสะอาด
1.การอนุรักษ์
To see the actual publication please follow the link above