Page 11

โกงกางต้นแรกในประเทศไทย ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี

10. ผลกำรส ำรวจสัตว์หน้ำดินที่พบบริเวณใต้ต้นโกงกำงทั้งสำมชนิด โดยรวมพบสัตว์หน้ำดิน เรียงตำมล ำดับควำมชุกชุมมำกที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ 1) หอยสีแดง (Assimine abrevicula) 2) หอยเจดีย์ (Batillarai multiformis) 3) ปูแสม (Sesarma mederi) 4) หอยจุ๊บแจง (Cerithidea obtusa) และทำกใบไม้สีเขียว (Elysia Chlorotica) 5) หอยขี้นก (Cerithidea cingulate) Batillarai multiformis หอยเจดีย์ 8. กำรศึกษำเปรียบเทียบช่วงเวลำกำรเกิดดอกบำน กำรศึกษำเปรียบเทียบช่วงเวลำกำรเกิดดอกบำนของโกงกำงทั้งสำมชนิด จำกกำรสังเกตและจดบันทึก รวมทั้งข้อมูลซำกพืชที่ร่วงหล่น ในตะแกรง ระหว่ำงเดือนมกรำคม 2560-สิงหำคม 2562 ได้ผลกำรสังเกตดังนี้ จำกกำรศึกษำในระหว่ำงปี 2560-2562 พบว่ำโกงกำงใบใหญ่ออกดอกบำนน้อยกว่ำโกงกำงใบเล็กและโกงกำงลูกผสมตลอดทั้งปี ในช่วง เดือนมกรำคมถึงมีนำคมเป็นช่วงที่โกงกำงทั้งสำมชนิดมีดอกบำนน้อยที่สุดของปี โดยโกงกำงใบเล็กและโกงกำงใบใหญ่เริ่มมีดอกบำนพร้อมกัน ในช่วงเดือนเมษำยนถึงพฤษภำคม พบว่ำช่วงที่โกงกำงใบใหญ่และโกงกำงใบเล็กมีดอกบำนพร้อมกันมำกที่สุดของปีโดยเฉลี่ยแล้วอยู่ในช่วงเดือนมิถุนำยนถึงกรกฎำคม และ เป็นช่วงที่โกงกำงลูกผสมมีดอกบำนพร้อมโกงกำงใบใหญ่และโกงกำงใบเล็กที่อยู่ข้ำงเคียงมำกที่สุดด้วย สำมำรถตั้งสมมุติฐำนได้ว่ำในช่วงระหว่ำงเดือนมิถุนำยนถึงกรกฎำคมเป็นช่วงที่อำจเป็นไปได้หำกโกงกำงใบใหญ่และโกงกำงใบเล็กได้เกิด มีกำรผสมข้ำมต้น โดยในช่วงเดือนเมษำยนถึงพฤษภำคมก็อำจเป็นช่วงที่มีกำรผสมข้ำมต้นได้เช่นกัน โดยต่อจำกนี้อำจสังเกตพฤติกรรมของแมลง ที่สำมำรถช่วยผสมเกสรได้ในช่วงดังกล่ำว 9. ข้อสันนิษฐำนเกี่ยวกับแหล่งที่มำของโกงกำงลูกผสมสำมำรถสรุปเบื้องต้นได้ดังนี้ 9.1 มีการผสมข้ามระหว่างโกงกางใบใหญ่และโกงกางใบเล็ก โดยพ่อและแม่ของโกงกางลูกผสมเป็นโกงกางใบใหญ่และโกงกางใบเล็ก ในบที่อยู่ใกล้เคียง 9.2 หากมีการนำโกงกางลูกผสมมาปลูกจากแหล่งอื่นก็มีความเป็นไปได้ว่าจะมาจากแหล่งเดียวกับโกงกางอื่นๆ ที่ปลูกอยู่ใกล้เคียง Chiromanthes eumolpe ปูแสม Cerithidea cingulat หอยขี้นก หอยสีแดงเป็นสัตว์หน้ำดินที่พบชุกชุมมำกที่สุดใต้ต้นโกงกำงแต่ละชนิด โดยเฉลี่ยตลอดทั้งปีพบหำกินใต้ต้นโกงกำงใบใหญ่มำกที่สุด รองลงมำได้แก่ โกงกำงลูกผสม และโกงกำงใบเล็ก ตำมล ำดับ ซึ่งหอยสีแดงที่พบใต้ต้นโกงกำงลูกผสมและโกงกำงใบเล็กมีจ ำนวนไม่แตกต่ำงกัน หอยสีแดงกินเศษซำกพืชบริเวณหน้ำดินเป็นอำหำร และเป็นตัวบ่งชี้ควำมอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศป่ำชำยเลน ในพื้นที่ที่มีกำรฟื้นฟูป่ำชำยเลน หำกพบหอยสีแดงแสดงว่ำควำมอุดมสมบูรณ์ได้กลับคืนมำ จึงสำมำรถสรุปได้ว่ำใต้ต้นโกงกำงทั้งสำมชนิดเป็นแหล่งอำหำรที่มีควำมอุดมสมบูรณ์ Assiminea brevicula หอยสีแดง Cerithidea obtuse หอยจ ุบแจง Elysia chlorotica ทากใบ ม้สีเขียว


โกงกางต้นแรกในประเทศไทย ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above