Page 14

โกงกางต้นแรกในประเทศไทย ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี

ทำงด้ำนกำรขยำยพันธุ์พืช เพื่อให้เป็นองค์ควำมรู้ที่สำมำรถเผยแพร่ได้อย่ำงมีศักยภำพทั้งในระดับประเทศและระดับสำกล 12. สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป ประสำนนักวิจัยและผู้เชี่ยวชำญในกำรต่อยอดผลกำรศึกษำไปสู่กำรวิจัยที่ลงลึก โดยใช้เทคนิคชั้นสูงมำกขึ้นและหลักวิชำกำรเฉพำะ 13. ข้อเสนอแนะอื่น ๆ 1. ในกำรปลูกหรือฟื้นฟูป่ำชำยเลนที่มุ่งสร้ำงผืนป่ำสีเขียว ฟื้นฟูหรือสร้ำงระบบนิเวศ กำรปลูกพันธุ์ไม้ที่หลำกหลำยตำม สภำพแวดล้อมที่ไม้ป่ำชำยเลนแต่ละชนิดสำมำรถเจริญเติบโตได้ อย่ำงไรก็ดี อำจมีประเด็นที่มิได้คำดหมำยเกิดขึ้นได้ เช่นในกรณีกำรเกิดโกงกำง ลูกผสม ณ สวนป่ำชำยเลนทูลกระหม่อมนี้ ดังนั้น จึงอำจเกิดควำมซับซ้อนหรือไม่ง่ำยในกำรสืบเสำะตรวจสอบแ หล่งที่มำของโกงกำงลูกผสม ดังกล่ำว หำกทรำบว่ำในพื้นที่ไม่มีกำรน ำฝักหรือกล้ำไม้โกงกำงจำกที่อื่นมำปลูก จะสำมำรถตั้งข้อสันนิษฐำนเพื่อตอบโจทย์ได้ง่ำยขึ้นว่ำเกิดขึ้น เองตำมธรรมชำติ โดยกำรผสมข้ำมต้นในป่ำชำยเลนเดียวกัน 2. กำรปลูกป่ำชำยเลนเพื่อฟื้นฟูควรจดบันทึกแหล่งที่มำของกล้ำไม้หรือฝักให้ชัดเจน พร้อมวันเดือนปีที่ปลูก ติดแท็ก พร้อมท ำ ขอบเขตให้ชัดเจนระหว่ำงไม้เดิม กับไม้ที่น ำมำปลูกจำกแหล่งอื่น ท ำเป็น Data Base บันทึกข้อมูลลงระบบคอมพิวเตอร์ จะสำมำรถท ำให้ นักวิจัยหรือนักวิชำกำรมีข้อมูลในกำรศึกษำและตรวจสอบได้ง่ำยขึ้นในกรณีมีกำรผสมข้ำมสำยพันธุ์ เนื่องจำกในอนำคตจำกสภำพภูมิอำกำศที่มี กำรเปลี่ยนแปลง (climate change) อำจมีพันธุ์ไม้ป่ำชำยเลนอื่นๆ ปรับตัว ผสมข้ำมสำยพันธุ์ เพื่อควำมอยู่รอดได้ 3. สำมำรถน ำข้อเสนอแนะ ตำมข้อ 2) ไปประยุกต์ใช้กับกำรปลูกป่ำและฟื้นฟูป่ำ รวมทั้งกำรปลูกป่ำแบบ afforestation ประเภท อื่นๆ ได้ไม่เพียงแต่ป่ำชำยเลนเท่ำนั้น กลุ่มวิจัยและพัฒนา อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร


โกงกางต้นแรกในประเทศไทย ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above