Page 9

โกงกางต้นแรกในประเทศไทย ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี

ผุพังแล้วเกิดกำรชะล้ำงโดยน ้ำมำสะสมพื้นที่บริเวณปำกแม่น ้ำ จึงท ำให้บริเวณป่ำชำยเลนของอุทยำนสิ่งแวดล้อมนำนำชำติสิรินธรมีธำตุ โพแทสเซียมสูง ทั้งนี้ โพแทสเซียมเป็นธำตุที่อยู่ในธรรมชำติน้อย และเกิดขึ้นจำกกำรเปลี่ยนแปลงทำงธรณีวิทยำ มีแหล่งก ำเนิดมำจำกกำรสลำยตัว ของหินแร่ และกำรย่อยสลำยของใบพืช อนุมูลโพแทสเซียมในดินอำจจะอยู่ในน ้ำ ในดิน หรือดูดยึดอยู่ที่พื้นผิวของอนุภำคดิน (ที่มำ: http://www.all aboutrose.com/horticultural/miniral/potassium) ด้วยเหตุนี้โพแทสเซียมจึงถูกใช้หมุนเวียนอยู่ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตและไม่ มีชีวิตในปริมำณที่จ ำกัด โพแทสเซียมจึงเป็นปัจจัยที่จ ำกัดจ ำนวนสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศหลำยชนิด โดยบทบำทในกำรช่วยควบคุมควำมเข้มขัน ของสำรที่อยู่ในสำรละลำย (osmolality) จึงมีควำมส ำคัญในกำรรักษำปริมำตรของเซลล์ให้คงที่ ซึ่งมีผลต่อควำมส ำคัญของปริมำตรน ้ำใน ร่ำงกำยของสัตว์หน้ำดิน เป็นปัจจัยร่วม (cofactor) ที่ส ำคัญในกระบวนกำรเมทำบอลิซึม และอัตรำส่วนของโพแทสเซียมในร่ำงกำยจะเป็น ตัวก ำหนดควำมต่ำงศักย์ที่ผนังเซลล์ที่มีควำมส ำคัญในกำรท ำงำนของกล้ำมเนื้อ และเส้นประสำทของสัตว์หน้ำดิน โดยโพแทสเซียมส่วนเกินที่ ได้รับในแต่ละวัน จะถูกขับถ่ำยออกมำในน ้ำปัสสำวะ และบำงส่วนจะอยู่ในมูล (ที่มำ : www.siamchemi.com /โพแทสเซียม) ซึ่งจะถูกย่อย สลำยโดยจุลินทรีย์ก่อนจะอยู่ในรูปแบบที่ละลำยน ้ำได้เพื่อให้พืชน ำไปใช้งำน เมื่อสิ่งมีชีวิตตำยลงจะถูกย่อยสลำยคืนโพแทสเซียมกลับให้กับดิน โพแทสเซียมนอกจำกพืชน ำไปใช้โดยตรงแล้วบำงส่วนยังถูกกระบวนกำรชะล้ำงพัดพำลงสู่ทะเล ปะปนอยู่ในดินตะกอนทั้งทะเลลึกและตื้น และถูกสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ในทะเลน ำมำใช้ถ่ำยทอดไปตำมห่วงโซ่อำหำรจนถึงปลำขนำดใหญ่ (ที่มำ : http://science. buu.ac.th) และ โพแทสเซียมที่ละลำยน ้ำอีกส่วนหนึ่งจะถูกน ้ำพำลงไปในดินชั้นล่ำงหรือน ้ำใต้ดิน ซึ่งปริมำณที่สูญเสียโพแทสเซียมลงในดินชั้นล่ำง จะขึ้นอยู่ ลักษณะของดินในระบบนิเวศนั้นๆ โดยที่ดินทรำย หรือดินร่วนจะสูญเสียได้มำกกว่ำดินเหนียว ยังรวมไปถึงปริมำณน ้ำฝนในระบบนิเวศนั้นๆ ด้วย (ที่มำ: http://ebook.lib. ku.ac.th/ ebook27/ebook/ 20160111/(หน้ำ260-309) ดังนั้น เปอร์เซ็นต์ค่ำธำตุอำหำรโพแทสเซียม (K) ของโกงกำงใบเล็กที่สูงกว่ำโกงกำงชนิดอื่น จึงเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ท ำให้โกงกำงใบ เล็กมีประโยชน์ต่อห่วงโซ่อำหำรในระบบนิเวศป่ำชำยเลนที่มีสัตว์หน้ำดินอำศัยอยู่ และในกำรใช้ถ่ำยทอดไปตำมห่วงโซ่อำหำรของสิ่งมีชีวิต ใน ทะเลต่อไป ผลการวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารทั้งหมด (Total N, P, K) จากซากพืชที่ร่วงหล่น ปีที่ท าการวิเคราะห์ ปริมาณธาตุอาหารทั้งหมด (%) จากการวิเคราะห์ซากพืช ของโกงกางทั้ง 3 ชนิด ในปี 2560 2561 และ 2562 N P K B H S B H S B H S 2560 0.380 0.380 0.350 0.060 0.050 0.060 0.360 0.210 0.720 2561 0.410 0.380 0.350 0.027 0.030 0.028 0.570 0.460 1.140 2562 0.440 0.470 0.470 0.030 0.040 0.040 0.410 0.390 0.720 ค่าเฉลี่ย 0.410 0.410 0.390 0.039 0.040 0.043 0.447 0.353 0.860 หมายเหตุ B=โกงกำงใบใหญ่ H=โกงกำงลูกผสม S=โกงกำงใบเล็ก วิธีวิเครำะห์ = Microkjeldahl 2. = Acid digestion, Spectroscopy 3. = Acid digestion, Atomic spectroscopy


โกงกางต้นแรกในประเทศไทย ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above