Page 2

วันพระบิดาแห่งฝนหลวง

ประวัติโครงการฝนหลวง โครงการพระราชด าริฝนหลวง เป็นโครงการที่ก่อก าเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ทรงห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่น ทุรกันดาร ซึ่งต้องประสบปัญหาขาดแคลนน า เพื่ออุปโภคบริโภค และใช้ในการเกษตรกรรม อันเนื่องมาจากภาวะ แห้งแล้ง ที่มีสาเหตุจากความผันแปร และคลาดเคลื่อนของฤดูกาลตามธรรมชาติ กล่าวคือ ฤดูฝนเริ่มต้นล่าช้า หรือหมดเร็วกว่าปกติ หรือฝนทิ งช่วงยาวในช่วงฤดูฝน จากพระราชกรณียกิจในการเสด็จพระราชด าเนินเยี่ยม พสกนิกรในทุกภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง ท าให้ทรงพบเห็นว่าภาวะแห้งแล้งได้มีแนวโน้มรุนแรงขึ นตามล าดับ เพราะ การตัดไม้ท าลายป่า เป็นสาเหตุให้สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งสร้างความเดือดร้อน ให้แก่ราษฎรในทุกภาคของประเทศ ส่งผลถึงความเสียหายต่อเศรษฐกิจโดยรวมของชาติ คิดเป็นมูลค่ามหาศาลใน แต่ละปี ทั งนี ระหว่างทางที่เคยเสด็จพระราชด าเนิน ทั งภาคพื นดิน และทางอากาศยาน พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงสังเกตเห็นว่ามีเมฆปริมาณมากปกคลุมท้องฟ้า แต่ไม่สามารถก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ เป็นเหตุให้เกิดภาวะฝนทิ งช่วงระยะยาวทั งๆที่เป็นช่วงฤดูฝน ทรงคิด ค านึงว่า น่าจะมีมาตรการทางวิทยาศาสตร์ที่จะช่วยให้เมฆเหล่านั นก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ ทรงเชื่อมั่นว่า ด้วยลักษณะของกาลอากาศ ภูมิอากาศ และภูมิประเทศของประเทศไทยซึ่งตั งอยู่ในภูมิภาคเขตร้อน และอยู่ใน อิทธิพลของฤดูมรสุมของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งเป็นฤดูฝน และเป็นฤดูเพาะปลูก ประจ าปีของประเทศไทย จะสามารถดัดแปรสภาพอากาศให้เกิดเป็นฝนตกได้ ตั งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา พระองค์ทรงศึกษาค้นคว้า และวิจัยทางเอกสาร ทั งด้านวิชาการอุตุนิยมวิทยา และการดัดแปรสภาพอากาศ จน


วันพระบิดาแห่งฝนหลวง
To see the actual publication please follow the link above