Page 116

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

96 ตารางที่ 9.3 ค่าเปอร์เซ็นต์ Polymorphic Loci ของกล้วยไม้รองเท้านารีเหลืองกระบี่ทั้ง 6 แหล่ง ลำดับ ชื่อแหล่ง จำนวนตัวอย่าง Polymorphic Loci (%) 95% Criterion 1 อ.เขาพนม จ.กระบี่ 7 77.7778 2 อ.ปะเหลียน จ.ตรัง 10 82.5397 3 อ.ปลายพระยา จ.กระบี่ 20 91.2698 4 เกาะนัก อ.เมือง จ.กระบี่ 4 62.6984 5 เกาะน้อย อ.อ่าวลึก จ.กระบี่ 8 83.3333 6 บ.คลองเตย อ.ทับปุด จ.พังงา 21 82.5397 Average 80.0265 ที่มา: จักรพันธ์และสุจิตรา, 2548 ตารางที่ 9.4 ค่า Genetic diversity ของกล้วยไม้รองเท้านารีเหลืองกระบี่ทั้ง 6 แหล่ง ลำดับ ชื่อแหล่ง จำนวนตัวอย่าง Expected Heterozygosity Fst 1 อ.เขาพนม จ.กระบี่ 7 0.2949 2 อ.ปะเหลียน จ.ตรัง 10 0.2873 3 อ.ปลายพระยา จ.กระบี่ 20 0.3155 4 เกาะนัก อ.เมือง จ.กระบี่ 4 0.2634 5 เกาะน้อย อ.อ่าวลึก จ.กระบี่ 8 0.3341 6 บ.คลองเตย อ.ทับปุด จ.พังงา 21 0.3128 Average 11.67 0.3013 Total 70 0.3384 0.0821 ที่มา: จักรพันธ์และสุจิตรา, 2548 ผลการวิเคราะห์ความใกล้ชิดทางพันธุกรรมระหว่างแหล่งของกล้วยไม้รองเท้านารีเหลืองกระบี่ จาก การวิเคราะห์ค่าการกระจายตัวทางพันธุกรรม (ตารางที่9.5) ด้วยเทคนิค Unweigthed Pair Group Method of Arithmetic Average (UPGMA) โดยใช้โปรแกรม TFPGA พบว่าดัชนีความเหมือนอยู่ในช่วง ระหว่าง 0.0406 ถึง 0.1015 และสามารถจัดกลุ่มของกล้วยไม้รองเท้านารีเหลืองกระบี่ทั้ง 6 แหล่ง ตามลำดับความสัมพันธ์กันซึ่งแสดงไว้ในภาพที่ 3 กล่าวคือแหล่ง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง มี ความสัมพันธ์กับ อำเภอปลายพระยา จังหวัดกระบี่มากที่สุด โดยมีค่า Genetic Distance รวมเท่ากับ 0.0406 ลำดับถัดมาคือแหล่งบ้านคลองเตย อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา ซึ่งมีความสัมพันธ์ห่างออกมาโดยมี


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above