Page 124

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

104 ตารางที่ 10.3 แสดงค่าเฉลี่ยเฮเทอโรไซโกซิตีจากการสังเกต (Ho) ค่าเฉลี่ยเฮเทอโรไซโกซิตีจากการ คาดหมาย (He) ในประชากรไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) ประชากร ค่าเฉลี่ย (Heterozygosity) Polymorphic loci (%) Ho He 1. อุทยานแห่งชาติผาแต้ม จ.อุบลราชธานี 0.3574 0.3634 81.82 2. อุทยานแห่งชาติภูจองนายอย จ.อุบลราชธานี 0.3515 0.4592 90.91 3. อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก จ.สกลนคร 0.2715 0.3461 81.82 4. อุทยานแห่งชาติภูพาน จ.สกลนคร 0.2726 0.2944 90.91 5. อุทยานแห่งชาติภูผายล จ.สกลนคร 0.2888 0.3349 81.82 6. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูวัว จ.บึงกาฬ 0.2707 0.3019 81.82 7. อุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคำ จ.หนองบัวลำภู 0.2703 0.3329 81.82 8. อุทยานแห่งชาติภูเวียง จ.ขอนแก่น 0.3939 0.3869 81.82 9. อุทยานแห่งชาติตาดโตน จ.ชัยภูมิ 0.3701 0.4008 90.91 10.พื้นที่ป่าปลูกไม้พะยูง จ.ตรัง 0.2353 0.3158 72.73 11.หน่วยป้องกันรักษาป่าที่ สบ. 1 (ท่ามะปราง) จ.สระบุรี 0.3381 0.6251 90.91 12.เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ จ.บุรีรัมย์ 0.3712 0.4867 81.82 เฉลี่ย 0.3160 0.3873 77.27 ที่มา: สุจิตราและคณะ, 2561 ตารางที่ 10.4 แสดงค่าสัมประสิทธิ์เอฟ (F-coefficient) ในแต่ละตำแหน่งของไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) ตำแหน่ง Fit Fst Fis COC_05 0.1920 0.1035 0.0987 COC_06 0.1947 0.1604 0.0409 COC_07 0.3666 0.1985 0.2098 COC_08 0.2685 0.1632 0.1258 COC_11 0.1786 0.1413 0.0433 COC_13 0.2156 0.1115 0.1171 COC_18 0.1439 0.1131 0.0347 DL4 0.9729 0.3862 0.9559 DELB_18 0.4417 0.2442 0.2613 Delb_57 0.0000 0.0000 0.0000 Delb_120 0.3687 0.2011 0.2099 ค่าเฉลี่ย 0.3118 0.1750 0.1659 ที่มา: สุจิตราและคณะ, 2561


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above