สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 2.1 การเกิด Inbreeding depression ของปริมาตรเนื้อไม้ Picea abies อายุ 61 ปี อันเนื่องมาจาก การผสมตัวเองซึ่งจะเห็นว่าปริมาตรเนื้อไม้น้อยกว่าต้นที่เกิดจาก Open pollination อย่างเด่นชัด 31 3.1 ขั้นตอนการพัฒนาเครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์ (SSRs) โดยสรุป 34 3.2 แสดงส่วนที่เป็นไมโครแซทเทลไลท์ซึ่งพบในไม้พะยูง (A) แสดงส่วนที่เป็นชุด CA 27 ซ้ำ (B) แสดงส่วนที่เป็นชุด TA 7 ซ้ำและ GT 16 ซ้ำ 36 3.3 แสดงรูปแบบอัลลีลของตัวอย่างไม้พะยูงโดยใช้คู่ไพรเมอร์ที่ออกแบบได้ (A) แสดงรูปแบบอัลลีลที่ แตกต่างกันของไพรเมอร์ Delb_120 (B) แสดงรูปแบบอัลลีลที่แตกต่างกันของไพรเมอร์ Delb_90 37 4.1 การวิเคราะห์ Cluster analysis (UPGMA) โดยใช้ Nei’s genetic distance ที่ยีน 16 ตำแหน่ง ในการศึกษาใบไม้สนสองใบ 11 ประชากร 45 5.1.1 การวิเคราะห์ Cluster analysis โดยใช้ unweighted pair group method coefficient used: Nei (1978) unbiased genetic 54 6.1.1 ความแตกต่างทางพันธุกรรมและความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของไม้ยางนา (Dipterocarpus alatus) 4 แหล่ง (ประชากร) 65 7.1 DNA profile ของ เครื่องหมายเอเอฟแอลพีของไม้โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) ในประเทศไทย 74 7.2 DNA profile ของ เครื่องหมายเอเอฟแอลพีของไม้โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora muconata) ในเกาะภูเก็ต 74 7.3 ความสัมพันธ์ของลักษณะการจัดกลุ่มแสดง Genetic distance และความสัมพันธ์ระหว่าง ประชากรของไม้โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) ในประเทศไทย 77 7.4 ความสัมพันธ์ของลักษณะการจัดกลุ่มแสดง Genetic distance และความสัมพันธ์ระหว่าง ประชากรของไม้โกงกางใบเล็ก (Rhizophora mucronata) ในประเทศไทย 77 7.5 การผสมกันเองในหมู่เครือญาติ (ซึ่งรวมถึงการผสมตัวเองด้วย) ในไม้โกงกางใบใหญ่ที่เรียกว่า การเกิด Inbreeding depression (ความเสื่อมถอยของการผสมกันในหมู่เครือญาติ) ทำให้ กล้าไม้มีลักษณะด้อยและความสามารถในการอยู่รอดลดลง อัตราการเจริญเติบโตลดลง 79 8.1 ลายพิมพ์ดีเอ็นเอที่เกิดจากคู่ไพรเมอร์ E-AGG/M-CTC ของไผ่ 26 ชนิด 88 8.2 การจัดกลุ่มความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของไผ่ 26 ชนิด ในลักษณะ Phylogenetic tree 88 8.3 รูปแบบอัลลีลของประชากรไผ่ป่า (Bambusa bambos) จังหวัดเชียงใหม่จากเครื่องหมาย ไมโครแซทเทลไลท์ที่ตำแหน่ง DTLBb 47 89 8.4 แผนผังความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่างประชากรไผ่ป่า (Bambusa bambos) 9 ประชากรจากการจัดกลุ่มโดยวิธี UPGMA 90
การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above