Page 15

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

สารบัญภาพ(ต่อ) ภาพที่ หน้า 14.4 แสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของพันธุ์ไม้ป่าหวงห้ามและไม้ป่าในบัญชี CITES ใน 3 ตำแหน่ง คือ Maturase K + RBCL + trnH-psbA 147 15.1 แสดงตำแหน่งและชนิดของลำดับนิวคลีโอไทด์ที่มีความจำเพาะของไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) ที่แตกต่างจาก ไม้ชิงชัน (D. oliveri) กระพี้เขาควาย (D. cultrata) เก็ด ดำ (D. assamica) และ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ในยีน Mat K 157 15.2 Phylogenetic tree แสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของไม้พะยูง ( Dalbergia cochinchinensis) กระพี้เขาควาย (D. cultrata) เก็ดดำ (D. assamica) ชิงชัน (D. oliveri) และประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ซึ่งคำนวณตามวิธี Neighbour Joining แบบ Bootstrap โดยโปรแกรม MEGA4 157 16.1 แสดงการตรวจวิเคราะห์ชิ้นดีเอ็นเอขนาด 930 คู่เบส ที่ได้จากการเพิ่มปริมาณด้วยเทคนิค พีซีอาร์ โดยใช้คู่ไพรเมอร์จากยีน matK 163 16.2 รูปแบบ electrophoregram บางตำแหน่งที่เป็น single nucleotide polymorphism ของ ไม้สะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) และไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) 163 16.3 Phylogenetic tree แสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของไม้สะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) และไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) ในแหล่งต่างๆ โดยยีน Maturase K ซึ่งคำนวณตามวิธี Neighbour Joining แบบ Bootstrap โดยโปรแกรม MEGA4 165 16.4 การจัดกลุ่มไม้สะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) ไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) และไม้สะเดาช้างด้วย UPGMA แบบ unbiased genetic distance ด้วย Isoenzyme gene 166 16.5 การจำแนกไม้สะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) และไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) 24 แหล่งจากการวิเคราะห์ความแตกต่างของลักษณะทางพันธุกรรมด้วย เครื่องหมาย ไมโครแซทเทลไลท์ 166 17.1 ตัวอย่างใบโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata) และ โกงกางลูกผสม (Putative hybrid) 169 17.2 ความแตกต่างของลำดับนิวเคลียสที่จำเพาะกับไม้โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora muconata) ไม้โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) และไม้โกงกางที่คาดว่าเป็นลูกผสม (Putative hybrid) ที่ นิวเคลียส 3 ตำแหน่ง (DLDH SBE2 และ FMRrm11) 171 17.3 ความแตกต่างของลำดับนิวเคลียสที่จำเพาะกับไม้โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora muconata) ไม้โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) และไม้โกงกางที่คาดว่าเป็นลูกผสม (Putative hybrid) ใน ตำแหน่งคลอโรพลาสต์ (atpB-rbcL intergenic spacer) 171 18.1 Phylogenetic tree แสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมจากตัวอย่างขี้เลื่อยกับพรรณไม้ที่มีใน ฐานข้อมูล (genbank) ในยีน Maturase k (Mat K) 175


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above