Page 17

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 23.1 Phylogenetic tree แสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของวัตถุพยานรายการที่ 1, 2, 3 และ 4 เปรียบเทียบกับไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) ในยีน rbcl ซึ่งคำนวณตามวิธี Neighbour Joining แบบ Bootstrap โดยโปรแกรม MEGA4 196 23.2 แสดงตัวอย่างตำแหน่งลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ที่ตำแหน่ง COC8, COC6 และ DELB_120 โดยใช้ เครื่องหมายดีเอ็นเอชนิดไมโครแซทเทลไลท์ที่สามารถแยกลักษณะลักษณะทางพันธุกรรมของ วัตถุพยานรายการที่ 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5, 1.6, 2, 3 และ 4 ได้ 197 23.3 แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมจากการวิเคราะห์ไมโครแซทเทลไลท์ 12 ตำแหน่ง 198 ของวัตถุพยานรายการที่ 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5, 1.6, 2, 3 และ 4 ที่แสดงให้เห็นว่าวัตถุ พยานรายการที่ 1 และ 2 มีลักษณะทางพันธุกรรมไม่เหมือนกับวัตถุพยานรายการที่ 3 และ 4 24.1 Phylogenetic tree แสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมวัตถุพยานตามหมายเลขซองลำดับที่ 1.3, 2.2, และ 3.1 ในยีน trnH+psbA เปรียบเทียบกับฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) ไม้ชิงชัน (D. oliveri) กระพี้เขาควาย (D. cultrata) และ ไม้ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ซึ่งคำนวณตามวิธี Neighbour Joining แบบ Bootstrap โดยโปรแกรม MEGA4 201 24.2 แสดงตำแหน่งลายพิมพ์ดีเอ็นเอ โดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอชนิดไมโครแซทเทลไลท์ทั้ง 10 ตำแหน่ง ที่แสดงให้เห็นว่าวัตถุพยานตามหมายเลขซองลำดับที่ 1.3, 2.2 และ 3.1 มีลักษณะ ทางพันธุกรรมเหมือนกัน 202 24.3 แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมจากการวิเคราะห์ไมโครแซทเทลไลท์ 10 ตำแหน่ง ของวัตถุพยานตามหมายเลขซองลำดับที่ 1.3 วัตถุพยานตามหมายเลขซองลำดับที่ 2.2 วัตถุ พยานตามหมายเลขซองลำดับที่ 3.1 และตัวอย่างไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) จากแหล่งอื่นที่ใช้เปรียบเทียบ ที่แสดงให้เห็นว่า วัตถุพยานตามหมายเลขซองลำดับที่ 1.3, 2.2 และ 3.1 มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกัน 203 25.1 แสดงภาพอุรังอุตังที่ถูกนำเข้าประเทศไทยอย่างผิดกฎหมาย 207 25.2 แสดงการจำแนกเสือโดยการถอดรหัสพันธุกรรมจากยีนในไมโทคอนเดรียโดยเปรียบเทียบกับ ฐานข้อมูลที่ทำการศึกษาโดยรายงานของ Cracraft et al. (1998) โดยการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม โดยวิธี Neighbor-joining (NJ) tree และ Bootstrap test สามารถจำแนกเสือออกเป็น 3 ชนิด คือ เสือโคร่ง (Panthera tigris) เสือดาว (Panthera pardus) เสือลายเมฆ (Neofelis nebulosa) 212 25.3 แสดงรูปจีโนไทป์ของดีเอ็นเอที่เกิดจากเครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์ที่ตำแหน่ง FCA – 453 ของ ตัวอย่างเสือ 23 ตัวอย่าง แถวที่ 1 – 12 คือ เสือโคร่ง แถวที่ 13 – 15 คือ เสือดาว แถวที่ 16 – 17 คือ เสือลายเมฆ แถวที่ 18 – 19 คือ เสือโคร่ง แถวที่ 21 – 23 คือ เสือดาว แถวที่ 20 คือตัวอย่าง ที่ไม่สามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอได้ แถว M คือ แถบดีเอ็นเอมาตรฐานขนาด 50 ladder 213


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above