Page 173

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

153 ลำดับ วงศ์ ชื่อพฤกษศาสตร์ ชื่อพื้นเมือง 52 RUBIACEAE Ochreinauclea maingayi กระทุ่มน้ำ 53 RUTACEAE Acronychia pedunculata กะอวม Limonia acidissima มะขวิด 54 SALICACEAE Homalium tomentosum ขานาง 55 SAPINDACEAE Lepisanthes rubiginosa มะหวด Mischocarpus pentapetalus พะบ้าง Nephelium lappaceum เงาะสีชมพู 56 SAPOTACEAE Madhuca motleyana สะเตียว Madhuca pierrei ซาง Mimusops elengi พิกุล Palaquium obovatum เตียวพรุ Sarcosperma arboretum มะยาง,เหมือดหอม 57 STENMONURACEAE Stemonurus malaccensis อ้ายบ่าว 58 STERCULIACEAE Scaphium affine สำรอง 59 STRYCHNACEAE Strychnos nux-vomica แสลงใจ 60 STYRACACEAE Styrax apricus กำยาน 61 SYMPLOCACEAE Symplocos lucida เหมือดสันนูน Symplocos longifolia เหมือดคนดำ Symplocos sumuntia เหมือดปลาซิว 62 TETRAMELACEAE Tetrameles nudiflora สมพง 63 THYMELAEACEAE Aquilaria crassna กฤษณา 64 VERBENACEAE Gmelina arborea ซ้อ 65 ZINGIBERACEAE Alseodaphne birmanica ขมิ้นต้น สรุปผลการศึกษาวิจัย การศึกษาครั้งนี้ได้จัดทำดีเอ็นเอบาโค้ดจากพันธุ์ไม้ป่าหวงห้ามและไม้ป่าในบัญชี CITES ในประเทศไทย โดยการสกัดดีเอ็นเอจากใบและเปลือกของพันธุ์ไม้แต่ละชนิด จำนวน 579 ตัวอย่าง และถอดรหัสพันธุกรรม ของดีเอ็นเอในคลอโรพลาสจีโนม 3 ตำแหน่ง คือ Maturase K, rbcl (Ribulose Bisphosphate Carboxylase large chain) และ trnH-psbA (intergenic spacer) มีความยาวนิวคลีโอไทด์ 550 bp 450 bp และ1,000bp ตามลำดับ สามารถถอดรหัสพันธุกรรมด้วยยีน Maturase K จากส่วนคลอโรพลาสต์จีโนม ในไม้ป่าของประเทศไทยได้ จำนวน 168 ตัวอย่าง สามารถจำแนกออกได้เป็น 45 วงศ์ (families) 90 สกุล (Genus) 126 ชนิด (species) ยีน RBCL จำนวน 278 ตัวอย่าง สามารถจำแนกออกได้เป็น 55 วงศ์ 100 สกุล 161 ชนิด และตำแหน่ง trnH-psbA จำนวน 133 ตัวอย่าง นอกจากนี้ได้วิเคราะห์รวมกัน 3 ตำแหน่ง พบว่าสามารถจำแนกได้ 65 วงศ์ (Family) 140 สกุล (Genus) และ 240 ชนิด (Species) ซึ่งสอดคล้องกับ


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above