215 ภาพที่ 25.4 แผนผังความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่างประชากรเสือโคร่ง เสือดาว เสือลายเมฆ จากการ จัดกลุ่มโดยวิธี UPGMA ด้วยโปรแกรม TFPGA version 1.3 (ที่มา: สุจิตรา และ พิษณุกร, 2552) สรุปผลการวินิจฉัยพันธุกรรม ผลที่ได้จากการวิเคราะห์โดยการถอดรหัสพันธุกรรมจากยีนในไมโตรครอนเดรีย จากตัวอย่าง หนังเสือ 6 ตัวอย่าง พบว่าเป็นหนังเสือเสือโคร่ง 3 ตัวอย่าง และหนังเสือดาว 3 ตัวอย่าง ซึ่งผลที่วิเคราะห์ ได้ไม่ตรงกับข้อมูลที่ได้รับตัวอย่างที่ได้รายงานว่าส่งตัวอย่างหนังเสือมา กล่าวคือ เป็นหนังเสือโคร่ง 5 ตัวอย่าง และหนังเสือดาว 1ตัวอย่าง โดยที่หนังเสือโคร่ง 3 ตัวอย่าง ได้ถูกถอดรหัสพันธุกรรมจากยีน ในไมโทคอนเดรีย 7 ชิ้นส่วนของยีน โดยเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลที่ทำการศึกษาโดยรายงานของ Lou et al. (2004) ได้เป็นกลุ่ม Indochinese Tiger (P. t. corbetti) ส่วนผลที่ได้จากการวิเคราะห์โดย เครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์ เพื่อศึกษา DNA fingerprinting เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของเสือ และนำมาวิเคราะห์ลักษณะทางพันธุกรรม (genotypes) ด้วยเครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์ 9 ตำแหน่ง พบว่า ตัวอย่างของหนังเสือ 6 ตัวอย่าง เป็นหนังเสือโคร่ง 2 ตัว และหนังเสือดาว 2 ตัว โดยหนังเสือดาวตัวอย่างที่ 21 และ 23 เป็นหนังเสือดาวตัวเดียวกันแสดงรายละเอียดดังภาพที่ 5อย่างไรก็ตามในการศึกษาการถอดรหัส พันธุกรรมชิ้นเนื้อเสือโคร่งตัวอย่างที่ 4 และหนังเสือโคร่งตัวอย่างที่ 20 มีลำดับนิวคลีโอไทด์เหมือนกัน ต้องรอ การยืนยันในอนาคตต่อไปว่าทั้งสองตัวอย่างเป็นเสือโคร่งตัวเดียวกัน หรือคนละตัว เนื่องจากตัวอย่างหนังที่ 20 ไม่
การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above