Page 6

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

สารบัญ หน้า สารบัญภาพ สารบัญตาราง คำนำ กิตติกรรมประกาศ บทที่ 1 พันธุศาสตร์ป่าไม้ระดับโมเลกุล 1 บทที่ 2 การอนุรักษ์ทรัพยากรพันธุกรรมป่าไม้ 22 บทที่ 3 วิธีการพัฒนาเครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์ (microsatellites markers) ในไม้ป่าพร้อมกรณีศึกษา 32 บทที่ 4 การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมในไม้สนสองใบ (Pinus merkusii) โดยใช้ เครื่องหมายไอโซเอนไซม์ยีน 39 บทที่ 5 การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของไม้สัก (Tectona grandis) 47 บทที่ 6 การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของไม้ยางนา (Dipterocarpus alatus) 60 บทที่ 7 การประเมินสถานภาพแหล่งพันธุกรรมของไม้โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) และโกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) ในประเทศไทยโดยการใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ และไอโซเอนไซม์ยีนเพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์และการฟื้นฟูป่า 68 บทที่ 8 การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของไผ่บางชนิดในประเทศไทยโดยใช้ เครื่องหมายเอเอฟแอลพีและไมโครแซทเทลไลท์ 82 บทที่ 9 การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของกล้วยไม้รองเท้านารีเหลืองกระบี่ (Paphiopedilum exul) โดยใช้เครื่องหมายเอเอฟแอลพี (AFLP markers) 92 บทที่ 10 การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) ในประเทศไทยโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอชนิดไมโครแซทเทลไลท์ 100 บทที่ 11 การพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอที่จำเพาะกับแหล่งที่มาของไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) ในประเทศไทย 108 บทที่ 12 การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของไม้ชิงชัน (Dalbergia Oliveri) ในประเทศไทยโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอชนิดไมโครแซทเทลไลท์ 115 บทที่ 13 ความสำคัญของข้อมูลทางพันธุกรรมของพันธุ์ไม้ป่าต่อการพิจารณาวางแผนการปลูกป่า 124 บทที่ 14 การพัฒนาดีเอ็นเอบาร์โค้ด (DNA barcode)เพื่อการคุ้มครองพันธุ์ไม้ป่าหวงห้ามและ ไม้ป่าในบัญชี CITES ในประเทศไทย 133 บทที่ 15 การจำแนกไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) ออกจากไม้ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ชิงชัน (Dalbergia oliveri) กระพี้เขาควาย (Dalbergia cultrata) เก็ดดำ (Dalbergia assamica) โดยการถอดรหัสพันธุกรรม จากยีน Maturase K 155


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above