Page 8

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1.1 ตัวอย่างของการศึกษาพันธุกรรมและความหลากหลายทางพันธุกรรมไม้ป่า โดยการใช้ เครื่องหมายโมเลกุลทางพันธุกรรม (molecular genetic markers) 3 1.2 ตัวอย่างของการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพันธุ์พืชและไม้ป่าเขตร้อนและ การประยุกต์ใช้ในการอนุรักษ์พันธุกรรมภูมิภาคเอเชียพอสังเขป 7 1.3 การศึกษาพันธุกรรมและความหลากหลายทางพันธุกรรมไม้ป่า โดยการใช้เครื่องหมาย โมเลกุล (molecular genetic markers) เพื่อการประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ และ อนุรักษ์พันธุกรรมไม้ป่าในประเทศไทย 9 1.4 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เครื่องหมายโมเลกุลทางพันธุกรรมเพื่อศึกษาความหลากหลาย ทางพันธุกรรมของพืชและไม้ป่าเขตร้อนและพืชป่าในประเทศไทย 12 1.5 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ดีเอ็นเอบาร์โค้ดเพื่อศึกษาความหลากหลายและความสัมพันธ์ ทางพันธุกรรมและวิวัฒนาการของพันธุ์ไม้ป่าเขตร้อนและพืชป่าในประเทศไทย 14 1.6 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เครื่องหมายโมเลกุลทางพันธุกรรมเพื่องานด้านนิติวิทยาศาสตร์ ไม้ป่าในประเทศต่างๆ 16 1.7 การเปรียบเทียบสถานภาพการศึกษาพันธุกรรมและความหลากหลายทางพันธุกรรมของ พันธุ์ไม้ป่าของแต่ละกลุ่มประเทศในโลก โดยการใช้เครื่องหมายโมเลกุลทางพันธุกรรม (molecular genetic markers) 17 2.1 การอนุรักษ์พันธุกรรมและการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมไม้ป่าในประเทศไทย 27 2.2 การเปรียบเทียบความแตกต่างทางพันธุกรรมระหว่างแหล่งประชากรของพันธุ์ไม้ป่าและ พืชป่าบางชนิดในประเทศไทย 29 2.3 การประเมินอัตราการผสมข้าม (tm) โดยใช้ไอโซเอนไซม์ยีนและ mixed mating model 29 2.4 การประเมินค่าของอัตราการผสมข้ามของประชากรไม้โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) ในประเทศไทย 30 2.5 การประเมินค่าของอัตราการผสมข้ามระหว่างต้นของประชากรไม้โกงกางใบเล็ก อำเภอ กันตัง จังหวัดตรัง ประเทศไทย 30 3.1 แสดงไพรเมอร์ที่มี polymorphism ในไม้พะยูง 37 4.1 11 แหล่ง (ประชากร) ของไม้สนสองใบที่ใช้ทำการศึกษา 41 4.2 ไอโซเอนไซม์ 11 ระบบที่ใช้ศึกษา และตำแหน่งของไอโซเอนไซม์ยีน 17 ตำแหน่งที่ได้ถูกวินิจฉัย 42 4.3 การศึกษาความผันแปรทางพันธุกรรมภายในประชากร 43 4.4 ความแตกต่างทางพันธุกรรมระหว่างแหล่ง Dj และ δ และ Fst ความแตกต่างของยีนทั้งหมด 44 4.5 การประเมินอัตราการผสมข้ามที่ยีนตำแหน่งเดียว (ts) และ มียีนหลายตำแหน่ง (tm) 45 5.1.1 แหล่ง (ประชากร) ไม้สัก (Tectona grandis) ที่ทำการศึกษา 48 5.1.2 รายชื่อของระบบไอโซเอนไซม์ที่ใช้ในการศึกษา 49


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above