Page 7

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Issue1

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Journal of the Sirindhorn International Environmental Park สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย Patents Awarded for His Majesty King’s Inventions สิทธิบัตร “กังหันน�้ำชัยพัฒนา” l The “Chaipattana Aerator” Patent ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2536 ได้รับการพิจารณาและทูลเกล้าฯ ถวาย สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย ในชื่อ “เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน��้ำ” เลขที่ สิทธิบัตร 3127 นับเป็นสิ่งประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศเครื่องที่ 9 ของ โลกที่ได้รับสิทธิบัตรและเป็นครั้งแรกที่ได้มีการรับจดทะเบียนและออกสิทธิ บัตรถวายแด่พระมหากษัตริย์ด้วย จึงนับได้ว่าสิทธิบัตรเครื่องกลเติม อากาศในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้นเป็น “สิทธิบัตร ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในประวัติศาสตร์ชาติ ไทยและเป็นครั้งแรกของโลก” ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติก��ำหนดให้วันที่ 2 กุมภาพันธ์ของทุกปีเป็น “วันนักประดิษฐ์” เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ ใน โอกาสนี้ด้วย ต่อมา ทรงคิดค้นประดิษฐ์เครื่องบ��ำบัดน��้ำเสียเพิ่มเติม โดยมี พระราชด��ำริให้มีการจัดสร้างเครื่องกลเติมอากาศแบบอัดอากาศและดูดน��้ำ แบบอาร์เอ็กซ์ - 5 ซี (Water-Air Pump Type Aerator, Model RX1-5C) ซึ่งได้พระราชทานภาพลายฝีพระหัตถ์เครื่องกลเติมอากาศทางโทรสารให้กับ กรมชลประทานจัดสร้างเครื่องต้นแบบ และพัฒนาจนประสบความสำ��เรจ็ใน ปี 2542 ทรงได้รับการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2544 ในชื่อ “เครื่องกลเติมอากาศแบบอัดอากาศ และดูดน��้ำ” เลขที่สิทธิบัตร 10304 แต่ด้วยเหตุที่ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหา น��้ำที่มีสีเขียว เนื่องจากการเกิดสาหร่ายชั้นต��่ำได้ จึงพระราชทานพระราชด��ำริ ระบบปรับปรุงคุณภาพน��้ำด้วยรางพืชร่วมกับเครื่องกลเติมอากาศ ให้มูลนิธิ ชัยพัฒนา และกรมชลประทาน ร่วมกันท��ำการวิจัยการใช้เครื่องกลเติม อากาศร่วมกับรางพืชปรับปรุงคุณภาพน��้ำ โดยติดตั้งเครื่องกลเติมอากาศเพื่อ เพิ่มออกซิเจนในน��้ำ ร่วมกับการจัดสร้างรางพืชปรับปรุงคุณภาพน��้ำ โดยพืช น��้ำที่ใช้ ได้แก่ พุทธรักษา พังพวยน��้ำ กก หญ้าพองลม และเตย มีหลักการท��ำงานของระบบ คือ เครื่องกลเติมอากาศจะท��ำหน้าที่ถ่ายเท ออกซิเจนลงในน��้ำ ท��ำให้น��้ำมีการไหลเวียน และอณูของเสียเกิดการแตกตัว ทำ��ให้พืชดูดซับของเสียไดดี้ รางพืชก็จะดูดซับสารอาหารที่ปะปนมากับนำ้�� ความต้องการแร่ธาตุสารอาหารด้วยการเจริญเติบโตของพืช เมื่อท��ำการ สังเคราะห์แสงแล้ว พืชจะแยกอาหารจากสาหร่ายชั้นต��่ำ สีของน��้ำจะค่อยๆ ใสขึ้น ความหนาแน่นของต้นพืชจะมีผลต่อการกรองของเสียที่ปนมากับน��้ำ จุลินทรีย์ในน��้ำจะเกาะรากพืช และหน่อของพืช จะสามารถย่อยสลายของ เสีย โดยก��ำหนดให้น��้ำเสียถูกส่งเข้ารางพืช เพื่อระบบแรงโน้มถ่วง หรือสูบ น้ำ��ดว้ยเครื่องสูบน้ำ��จะต้องมีทางให้น้ำ��ที่ผ่านรางพืชกลับลงส่แูหลง่น้ำ��ต่อไป ส่งผลให้น��้ำค่อยๆ ใสขึ้น เนื่องจากสาหร่ายชั้นต��่ำค่อยๆ ลดลง โดยระบบ ปรับปรุงคุณภาพน��้ำด้วยรางพืชร่วมกับเครื่องกลเติมอากาศดังกล่าวกรม ทรัพย์สินทางปัญญาได้ถวายสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ 29091 เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2553 ผลงานสิ่งประดิษฐ์ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว แสดงถึงพระอัจฉริยภาพและพระ ปรีชาสามารถในด้านการประดิษฐ์นวัตกรรมเพื่อ ช่วย แก้ปัญหาให้ประชาชน โดยระบบปรับปรุง คุณภาพน��้ำด้วยรางพืชร่วมกับเครื่องกลเติมอากาศ ช่วยพัฒนาสภาพแวดล้อมและธรรมชาติให้มี คุณภาพดีขึ้น ท��ำให้ประชาชนชาวไทยมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน On February 2, 1993, a patent for the king’s invention titled “Floating Aerator, Patent No. 3127,” became the 9th awarded for the invention of an aerator and the first time ever a patent had been registered and issued for a king. As a result, the cabinet declared that February 2 of every year is named “Inventor’ s Day” in honour of His Majesty King’s achievement. Afterwards, His Majesty also invented a wastewater treatment device. He had the notion that the Water-Air Pump Type Aerator, Model RX1-5C should be constructed. A design of his own drawing of the aerator was faxed to the Royal Irrigation Department for a model device to be made and developed and the work was successfully completed in 1999. The patent was presented to His Majesty on April 19, 2001, with the title “Water-Air Pump Type Aerator, Patent No. 10304” and, since it had not been possible to solve the problem of green color water resulting from the emergence of microalgae, he brought up the idea of a system for water quality improvement by means of a plant trough working together with the aerator. The Chaipattana Foundation and the Royal Irrigation Department were assigned the task of working together in conducting research on the usage of the aerator together with a plant trough to improve water quality. As a result, it was found that success could be achieved when an aerator was installed to increase oxygen in the water and a plant trough was constructed for water quality development by using the water plants of Indian shot, water primrose, reed, floating grass and screw pine. Regarding the functioning of the system, the aerator releases oxygen into the water, causing circulation in the water and, therefore, the waste particles break down, enabling the plants to absorb waste effectively. The plant trough then absorbs the nutrients that are in the water. Owing to the need for mineral substances for plant growth, after photosynthesis, the plants will sort out nutrients from microalgae. The colour of the water will as a result become clearer and clearer. The density of the plants affects the filtering of the water-borne waste. Microbes in the water cling to the plant roots and shoots and the microbes digest waste through the wastewater being directed into the plant trough for the gravity system or through the water being pumped. There must be a way for the water that runs through the plant trough to return to the water source. As a consequence, the water will become clearer and clearer because the amount of microalgae diminishes. The system for improving the water quality with a plant trough together with the aerator was granted Patent of Invention No. 29091 by the Department of Intellectual Property on November 9, 2010. The inventions by His Majesty King Bhumibol Adulyadej reflect his genius and talent in creating innovations to help solve the problems people face. As to the water quality improvement system using plant trough and aerator, it improves the quality of the environment and nature, allowing Thai people to have a sustainably better quality of life. 1R มาจาก Royal / X มาจาก Experiment เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน��้ำ / Floating Aerator. 1R is from Royal / X is from Experiment 7


วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Issue1
To see the actual publication please follow the link above