Page 36

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์

สำหรับความกังวลกับเหตุการณ์น้ำท่วมกรุงเทพฯ และ ปริมณฑลในอนาคต มีข้อมูลบ่งชี้ความเสี่ยงหลายประการจาก IPCC (2007) และอีกหลายหน่วยงาน เช่น Nicholls, et al. (2008) และ World Bank (2010) ว่ากรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวงที่อาจจะต้อง เผชิญกับเหตุการณ์น้ำท่วมครั้งใหญ่ในอนาคต ผู้เขียนได้ทำการ ศึกษา และประเมินผลกระทบจากเหตุการณ์น้ำท่วมกรุงเทพฯ พบว่า ข้อมูลปริมาณน้ำฝน ปริมาณน้ำเหนือในช่วงฤดูน้ำหลาก (ที่มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 10-15) การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ ที่ดิน (พื้นที่ชุ่มน้ำลดลงจากร้อยละ 60 เหลือร้อยละ 25 ในรอบ 20 ปีที่ผ่านมา) การทรุดตัวของแผ่นดิน (ประมาณ 2-10 ซม.ต่อปี) และการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล (ประมาณ 2-3 มม.ต่อปี) ปัจจัย ต่างๆ ที่สำคัญเหล่านี้ จะส่งผลให้พื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลต้อง เผชิญกับความเสี่ยง และความล่อแหลมมากขึ้น การศึกษานี้ได้ สร้างแบบจำลองน้ำท่วมกรุงเทพฯ และปริมณฑลขึ้น โดยพบว่า หลายพื้นที่จะต้องจมอยู่ใต้บาดาลเป็นเวลา 1-2 เดือน (รูปที่ 7) คือ ตั้งแต่จังหวัดเหนือน้ำ พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี มีน้ำท่วมขัง ทั้งหมด พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดนนทบุรี พื้นที่ฝั่งธนบุรี และฝั่ง ตะวันออกกรุงเทพฯ บางพื้นที่มีน้ำท่วมขัง โดยมีการประเมินความ เสียหายเบื้องต้นอยู่ที่ 150,000 ล้านบาท และที่สำคัญเป็นความ ยากลำบากในการบริหารจัดการ มาตรการต่างๆ ที่เตรียมไว้จะไม่ สามารถนำมาใช้ได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ เนื่อง มาจากเหตุการณ์น้ำท่วมในอนาคตจะมีความรุนแรง และสลับ ซับซ้อนจนยากที่จะแก้ไข ท้ายที่สุด อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ได้น้อมนำ กระแสพระราชดำรัสด้าน “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นกรณี ศึกษาตัวอย่างของ ไคลเมท สมาร์ท สำหรับชุมชนในประเทศไทย โดยยึดหลักความเป็นธรรมชาติ และความเป็นอยู่อย่างธรรมดา (ตามคำกล่าวของ ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล) กล่าวคือ ชุมชนที่อยู่ใน ชนบท มักจะมีความล่อแหลมต่อภัยคุกคามสูงกว่าชุมชนเมือง การ จัดสรรที่ทำกินในสัดส่วนที่เหมะสม (ขุดสระน้ำร้อยละ 30 ทำนา ข้าวร้อยละ 30 ไร่นาสวนผสมร้อยละ 30 และเป็นที่อยู่อาศัยร้อยละ 10) จะสามารถลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศจาก หนักเป็นเบา ในยามฝนตกหนัก น้ำเหนือมีปริมาณมาก หากทุก ครอบครัวมีการเตรียมสระน้ำเพื่อรับน้ำดังกล่าวเปรียบเหมือน แก้มลิงตามแนวพระราชดำริ ก็จะสามารถลดผลกระทบจาก เหตุการณ์นำท่วมได้ไม่มากก็น้อย ในขณะเดียวกัน ยามเมื่อต้อง เผชิญกับหน้าแล้ง ก็ยังมีน้ำในสระคอยให้ความอุดมสมบูรณ์กับพืช ผลที่ปลูก การจัดพื้นที่เป็นที่อยู่อาศัยให้เป็นใต้ถุนสูงเหมือนบ้านใน สมัยก่อนช่วยเพิ่มพื้นที่ให้น้ำอยู่ และสามารถใช้เป็นพื้นที่ทำกิน หรืออยู่อาศัยในฤดูแล้งได้อย่างเหมาะสม แนวทางดังกล่าวเป็นการ ปรับตัวอย่างชาญฉลาดของชุมชนต่อภัยคุกคามด้านการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้น โดยเฉพาะกับประเทศไทยที่มี การคาดการณ์จาก ไอพีซีซี ด้านความเสี่ยงต่อการเกิดน้ำท่วม และ ภัยแล้งเพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกัน การปรับยุทธศาสตร์ของ inundation of downstream communities of the Chao Phraya Dam (Chainat, Inburi, Singburi, Angthong and Ayutthaya) and the Pasak Jolasid Dam (Tharue and Nakornluang Districts). The amounts of water discharged through the Chao Phraya Dam (about 3,600 cubic meters per second) and the Pasak Jolasid Dam (about 1,200 cubic meters per second) would be merged at the district of Bangsai. This occurrance resulted in flooding of several areas in Ayutthaya Province (Bangban and Sena Districts), Pathumthani (Muang and Samkhok Districts) Nonthaburi (Pakkret and Muang Districts) and Bangkok area (communities outside of the water protection dikes). The amount of water flowed into downstream basins of the Chao Phraya Dam and the Pasak Jolasid Dam (about 2,800 million cubic meters per second) was beneficial in that the water flow to Bangkok area would be reduced. The situation had changed from drought to flood in about 2-3 months. The medium size dams (Lam Tra Kong Dam and Lam Phra Phloeng Dam) would not be able to further delay the water flow; thus, the water was discharged to downtown Nakhonratchasima Province and Pakthongchai District. In addition, the amount of water discharged to the Moon and Chi Rivers could cause a domino effect of inundation to all communities along the rivers. The downstream provinces still had times to be prepared for the effect as water mass would take some time to flow downstream. Regarding the concerns on the future flooding in Bangkok and its vicinity there are data from IPCC (2007) and several other agencies such as Nicholls et al. (2008) and World Bank (2010) indicating many risks that Bangkok, the capital, may have to face a major flooding in the future. I studied and assessed the potential impact of floods in Bangkok and found that rainfall data, water flow during the flooding season (tended to increase by 10-15%), land use change (wetland areas have decreased from 60% to 25% in the past 20 years), land subsidence (about 2-10 cm per year) and an increase in sea level (about 2-3 mm per year). Of all these significant factors would result in the Bangkok and its vicinity to experience greater risk and vulnerability. This study was conducted to model the future flood in Bangkok and its vicinity. It was found that many areas may have to be inundated for 1-2 months (Figure 7), beginning from the upstream provinces, Ayutthaya, the whole area of Pathumthani Province, most 36 เรื่องเด่นประเด็นร้อน / Hot Issue


วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์
To see the actual publication please follow the link above