Page 35

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์

ไอพีซีซี มีข้อมูลบ่งชี้ถึงปัจจัยเสี่ยงหลายประการ เหตุการณ์ครั้งนี้ เราถูกโจมตีโดยข้าศึก (เมฆฝน) แบบไร้ ทิศทาง และมาพร้อมๆ กันในเวลาไล่เลี่ยกัน และต้องยอมรับว่า ปรากฏการณ์ลานินญา ปี 2553 รุนแรงที่สุดในรอบ 60 ปี ระหว่าง เดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน ถ้ายังคงจำเหตุการณ์เมื่อปีที่แล้ว ได้ เราเพิ่งจะประสบภัยแล้งตั้งแต่ปลายปี 2552 และต่อเนื่องมา จนถึงกลางปี 2553 ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ และขนาด กลางหลายแห่งมีไม่ถึงร้อยละ 40 ของปริมาตรกักเก็บ มีการออก ประกาศเชิญชวนให้งดการทำนาปรัง และเลื่อนการทำนาปีไป ประมาณ 2 เดือน (ซึ่งในข้อเท็จจริง นโยบายประกันราคาข้าว ประกอบราคาข้าวในตลาดเป็นแรงจูงใจที่ทำให้ชาวนาหันมาใช้ พื้นที่ทำนามากขึ้น) จนกระทั่งเดือนกันยายน จนถึงเดือนตุลาคม เกิดฝนตกหนักบริเวณพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาค ตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางตามแนวร่อง ความกดอากาศต่ำ ทำให้อ่างเก็บน้ำขนาดกลางหลายแห่งไม่ สามารถรับน้ำได้เพิ่มเติมจากปริมาณฝนตกต่อเนื่อง พื้นที่ลุ่มภาค กลางหลายจังหวัดมีน้ำท่วมขังเป็นบริเวณกว้าง (สุพรรณบุรี ลพบุรี สระบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา เป็นต้น) สถานการณ์เริ่มรุนแรง ขึ้นเมื่อปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อนเจ้าพระยา และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์มี ปริมาณมาก และไม่สามารถผันเข้าแม่น้ำท่าจีน และคลองชัยนาท- ป่าสักได้ เนื่องจากจะเข้าไปซ้ำเติมความเสียหายแก่ประชาชนใน จังหวัดสุพรรณบุรี และลพบุรี ส่งผลให้บริเวณชุมชนท้ายน้ำเขื่อน เจ้าพระยา (ชัยนาท อินทร์บุรี สิงห์บุรี อ่างทอง อยุธยา) และชุมชน ท้ายน้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (อำเภอท่าเรือ อำเภอนครหลวง) เกิด น้ำท่วมขังเป็นบริเวณกว้าง ปริมาณน้ำที่ปล่อยผ่านเขื่อนเจ้าพระยา (ประมาณ 3,600 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที) และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (ประมาณ 1,200 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที) ไหลมารวมกันที่อำเภอ บางไทร ส่งผลให้หลายพื้นที่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจมใต้น้ำ (อำเภอบางบาล อำเภอเสนา) ปทุมธานี (อำเภอเมือง อำเภอ สามโคก) นนทบุรี (อำเภอปากเกร็ด อำเภอเมือง) รวมทั้งพื้นที่ กรุงเทพมหานคร (ชุมชนนอกคันกั้นน้ำ) ปริมาณน้ำไหลที่เข้าทุ่ง ตั้งแต่ใต้เขื่อนเจ้าพระยา และใต้เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ลงมา (ประมาณ 2,800 ล้านลูกบาศก์เมตร) ส่งผลดีกับปริมาณน้ำเข้า กรุงเทพฯ น้อยลง สถานการณ์เปลี่ยนจากภัยแล้งเป็นอุทกภัยใน ช่วงเวลาประมาณ 2-3 เดือน อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง (เขื่อนลำตะคอง เขื่อนลำพระเพลิง) ไม่สามารถหน่วงน้ำได้อีกต่อไป จึงต้องปล่อยน้ำ ผ่านเข้าตัวเมืองนครราชสีมา และอำเภอปักธงชัย นอกจากนี้ ปริมาณน้ำจากลำน้ำสาขาท้ายเขื่อนลำตะคองยังไหลหลากซ้ำเติม ความเสียหายเป็นวงกว้าง ไหลเข้าตัวเมืองนครราชสีมา (ปริมาณ น้ำท้ายเขื่อนลำพระเพลิง ประมาณกว่า 250 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อ วัน ไหลผ่านอำเภอปักธงชัย) นอกจากนี้ปริมาณน้ำที่ไหลหลากลง แม่น้ำมูลและแม่น้ำชี ทำให้เกิดการท่วมขังชุมชนบริเวณที่น้ำไหล ผ่านเป็นโดมิโน โดยจังหวัดท้ายน้ำยังมีเวลาในการเตรียมพร้อม เนื่องจากน้ำเหนือต้องใช้เวลาในการเดินทาง วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Journal of the Sirindhorn International Environmental Park while giving warnings to Thai society since the end of 2009 that at the beginning to mid 2010 we may have to face with severe drought and at the end of the year we may have to experience major floods, especially in Hat Yai district. In addition, I also emphasized that by the year 2020 the Bangkok metropolitan area and its vicinity may have to face with a major flood resulting in a tremendous economic loss. I used the word “may” so the society did not pay attention to and was not aware of the incident. Administration and management of disasters is risk management like doing business with many risks to consider. If the assessed impacts are acceptable, it is not necessary to do anything. On the other hand, if the assessment indicates severe impacts, we have to do analysis for mitigation measures. The meeting of experts on disasters of the Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) has data indicating several risk factors. Upon this event we were attacked by multidirectional enemy (rainy clouds) coming simultaneously and about the same time. It is accepted that the La Nina phenomenon in 2011 was the most severe in 60 years. If you still remembered last year incident during October and November, we just experienced drought since late 2009 and continued until mid 2010. The water storage in medium and large reservoirs became decreasing less than 40% of the available storage capacity. The government, then issued some recommendations to suspend the off-season rice and to postpone the planting of in-season rice to about 2 months (but in fact the guarantee policy of rice price and the market price are incentives to farmers to increase rice plantation). From September to October there was a heavy rain in lower northern, central, eastern and middle northeastern parts of Thailand along the low pressure trough. As a consequence many medium sizes of reservoirs could not receive any more water due to the continuation of rainfalls. Several provinces in the low lying central region of Thailand were widely flooded (Suphanburi Lopburi, Saraburi, Angthong and Ayutthaya, etc.). The situation became intensified when the water inflow to the Chao Phraya Dam and Pasak Jolasid Dam were in large quantity and could not divert to the Tha Chin River and Chainat-Pasak canal. If that large amount of water were to be diverted, it would have aggravated the existing damages to the people in Suphanburi and Lopburi and resulted in a large scale 35


วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์
To see the actual publication please follow the link above