Page 42

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์

พลังงาน / Energy เชื้อโรค และการเปลี่ยนแปลงปริมาณฝนตกยังคงมีสูงมาก เช่น เดียวกับกรุงเทพฯ อย่างไรก็ตาม การประเมินดังกล่าว ใช้ค่าน้ำ หนักของแต่ละปัจจัยที่เท่ากันเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบคะแนน ระหว่างเมือง ในข้อเท็จจริงแต่ละเมืองมีความเสี่ยงกับปัจจัยแต่ละ ตัวต่างกัน น้ำหนักของแต่ละปัจจัยก็ควรจะต่างกัน ดังนั้น การ ประเมินความเสี่ยงของแต่ละเมืองจึงต้องวิเคราะห์อย่างละเอียด เพื่อหามาตรการป้องกัน และลดผลกระทบต่อไป ในการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศสำหรับกรุงเทพฯ จึงได้พิจารณาจากปัจจัยที่มีความเสี่ยง ระดับปานกลางถึงสูง เช่น ด้านการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่สูงขึ้น พบ ว่า ข้อมูลอุณหภูมิสูงสุด และต่ำสุดในแต่ละวันที่มีการบันทึกไว้ ประมาณ 40 ปี มีแนวโน้มสูงขึ้นประมาณ 1-1.5 องศาเซลเซียส (รูปที่ 4) อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย Average maximumtemperature in Bangkok 1961-2007 Tempc (C) 1961 1971 1981 1991 2001 2011 Year 33.60 33.40 33.20 33.00 32.80 32.60 32.40 32.20 32.00 Maxtmp เชิงเส้น (maxtmp) Averange Minimum temperature in Bangkok 1961-2007 Tempc (C) 1961 1965 1968 1970 1980 1990 1997 1999 2003 2004 2005 Year 26.00 25.50 25.00 24.50 24.00 23.50 23.00 22.50 22.00 21.50 Maxtmp เชิงเส้น (maxtmp) รูปที่ 4 อุณหภูมิเฉลี่ยพื้นที่กรุงเทพฯ Figure 4 Average temperatures in Bangkok. รูปที่ 5 ภาพถ่ายดาวเทียมพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล Figure 5 Satellite imagery of Bangkok and its vicinity. and then the weighting scores of each variable should be different. The risk assessment for each city, therefore, must be conducted in details to appropriately formulate prevention and mitigation measures. The assessment of risk for Bangkok was conducted by means of variables rated as moderate to high risks. Based on the daily minimum and maximum temperatures recorded for about 40 years, for instance, it was found that temperatures increased by about 1-1.5 0C (Figure 4), particularly minimum temperature increased significantly. Thus, Bangkok may not be as cold as in the past (but might receive some influences from climate variability in some years). However, urbanization and land use change can cause higher temperatures of Bangkok than that of its suburbs. Many commuters can feel more comfortable and cooler environment when leaving Bangkok to suburb areas. Hung et al. (2006) monitored data from satellite (MODIS) in 2001-2003 and found that temperatures in central areas of Bangkok (Sathorn and Pathumwan) were higher than that of suburban area (Nonthaburi) by about 5-6 0C (Figure 5). High temperature areas are the downtown business districts and office buildings. Those areas can absorb and accumulate heat and at the same time can reflect radiation amongst buildings and road surfaces, as well as blocking ambient air กรุงเทพฯ/Bangkok นนทบุรี/Nonthaburi รูปที่ 6 อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยระหว่างกรุงเทพฯ กับ จังหวัดนนทบุรี Figure 6 Average surface temperatures in Bangkok and Nonthaburi. โดยเฉพาะอุณหภูมิต่ำสุดมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างมีนัย สำคัญ ดังนั้น กรุงเทพฯ ก็อาจจะไม่หนาวเหมือนในอดีต (แต่อาจ จะได้รับอิทธิพลจากความแปรปรวนของสภาพอากาศในบางปี) การขยายตัวของเมือง การปรับเปลี่ยนการใช้ที่ดิน เป็นสาเหตุหนึ่งที่ ทำให้อุณหภูมิของกรุงเทพฯ สูงกว่าบริเวณปริมณฑลอย่างชัดเจน จนหลายคนรู้สึกว่าพอขับรถออกมาจากเขตกรุงเทพฯ ชั้นใน มี ความรู้สึกที่สบายขึ้น Hung et al. (2006) ทำการตรวจวัดข้อมูล จากดาวเทียมโมดิส (MODIS) ในช่วงปี พ.ศ. 2544-2546 พบว่า ในพื้นที่ใจกลางเมืองกรุงเทพฯ (สาทร ปทุมวัน) มีอุณหภูมิสูง กว่าพื้นที่ปริมณฑล (นนทบุรี) ประมาณ 5-6 องศาเซลเซียส (รูป ที่ 5) ซึ่งพื้นที่บริเวณที่มีอุณหภูมิสูงตรงกับบริเวณย่านใจกลางเมือง ที่เป็นย่านธุรกิจ อาคารสำนักงานต่างๆ เนื่องจากมีการดูดซับสะสม ความร้อน การสะท้อนรังสีจากดวงอาทิตย์ระหว่างอาคาร หรือ ระหว่างพื้นถนน การถ่ายเทอากาศในพื้นที่ อุณหภูมิที่ต่างกัน ระหว่างกรุงเทพฯ และปริมณฑลในช่วงเวลากลางวัน และกลางคืน มีค่าเท่ากับ 8 องศาเซลเซียส และ 3 องศาเซลเซียส ตามลำดับ จึง ทำให้ช่วงเวลากลางวันมีอากาศร้อนจัด (รูปที่ 6) นอกจากนี้ เมื่อ พิจารณาเชิงพื้นที่ พบว่า มีพื้นที่ประมาณ 1,243 และ 942 ตาราง กิโลเมตร ที่มีผลต่างของอุณหภูมิอย่างต่ำ 1 องศาเซลเซียส ในเวลา กลางวัน และกลางคืนตามลำดับ ดังนั้น มาตรการด้านผังเมืองจึงมี ความจำเป็นสำหรับกรุงเทพฯ ในการควบคุมการเพิ่มขึ้นของ อุณหภูมิในพื้นที่ นอกจากนี้ ความเป็นทะเลกรุงเทพฯ หรือปอดทะเลของ ชาวกรุงเทพฯ กำลังใกล้จะหมดไป เนื่องจากป่าชายเลนบริเวณ ชายฝั่งทะเลบางขุนเทียนที่มีความยาวประมาณ 4.7 กิโลเมตร มี ความกว้างเหลือเพียง 50 เมตร ในบางพื้นที่ และกำลังถูกกัดเซาะ 42


วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์
To see the actual publication please follow the link above