Page 41

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์

(Intergovernmental Panel on Climate Change -IPCC) (2007) ระบุว่าหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะได้รับ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับปานกลาง จนถึงรุนแรง ทั้งนี้ เนื่องจากประเทศเหล่านี้มีผลิตภัณฑ์มวลรวมที่ ขึ้นอยู่กับภาคเกษตรกรรมเป็นสำคัญ การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ย ของโลก (2.15 องศาเซลเซียส 2.28 องศาเซลเซียส 2.01 องศา เซลเซียส) สำหรับทั้งปี ช่วงฤดูหนาวและช่วงฤดูร้อน ประกอบกับ การเพิ่มขึ้นและลดลงของปริมาณน้ำฝนในแต่ละพื้นที่ ปริมาณ ความชื้นในอากาศ ปริมาณแหล่งน้ำ การแปรเปลี่ยนของฤดูกาล จะส่งผลกระทบโดยตรงกับผลผลิตทางภาคเกษตรกรรม รวมทั้งการ แพร่ระบาดของโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ นอกจากนี้ ยังมีการคาดการณ์ ว่าฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้อาจจะมาช้าประมาณ 10-15 วันใน แต่ละปี ล่าสุดมีรายงานจากมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ (Rockefeller Foundation) (2007) ซึ่งได้ทำการประเมินเมืองต่างๆ 50 เมืองใน ทวีปเอเชีย โดยสำหรับประเทศไทยมีกรุงเทพฯ เชียงใหม่ พัทยา และ ภูเก็ต ในการประเมินความเสี่ยง มีการใช้ตัวแปรที่สำคัญคือ 1) มลพิษทางอากาศ 2) โรคติดต่อ 3) ความเครียดด้านความร้อน 4) อุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น 5) ปริมาณฝนที่เปลี่ยนแปลง 6) การละลาย ของธารน้ำแข็ง 7) พายุ และ 8) ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น โดยคะแนน แต่ละปัจจัยมีระดับตั้งแต่ไม่มีความเสี่ยง (0 คะแนน) ถึงความ เสี่ยงสูงมาก (5 คะแนน) ผลการประเมิน พบว่า กรุงเทพฯ เป็น เมืองหลวงที่มีความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดย จัดอยู่ในลำดับต้นๆ (ลำดับที่ 5-7 มีคะแนนเท่ากัน) (ตารางที่ 1) นอกจากนี้ ความเสี่ยงของกรุงเทพฯ ที่มีค่าสูงมากคือ ความเสี่ยง ด้านการแพร่ระบาดของเชื้อโรคกับความเสี่ยงด้านการเปลี่ยนแปลง ปริมาณฝนตก รองลงมาเป็นความเสี่ยงด้านอุณหภูมิที่สูงขึ้น พายุ และระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น สำหรับจังหวัดอื่นๆ ก็มีความเสี่ยงใน ภาพรวมต่ำกว่ากรุงเทพฯ แต่ความเสี่ยงด้านการแพร่ระบาดของ วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Journal of the Sirindhorn International Environmental Park because the Gross Domestic Product (GDP) of those countries comes mainly from agricultural sector. The increase in average global temperatures on annual basis (2.150C), in winter (2.280C) and in summer (2.010C), together with changes in the level of rainfall, air moisture, water quantity and the seasonal variations will result in a direct impact on agricultural productivity as well as the spread of various diseases. In addition, there is a prediction that the southwest monsoon will come 10-15 days later than usual. The recent risk assessment report Rockefeller Foundation (2007) of 50 Asian cities including Thailand (Bangkok, Chiang Mai, Pattaya and Phuket) was conducted using 8 key variables namely 1) air pollution 2) diseases 3) heat stress 4) increasing temperatures 5) changing rainfall 6) melting of glaciers 7) storms and 8) rises of sea levels. Each of these factors was categorized from no risk (0 score) to very high risk (5 scores). The assessment results are shown in Table 1. Bangkok is at a very high risk to climate change (ranks No. 5-7 are equal in scores). The other high risk impacts of Bangkok are the spread of diseases and changes of rainfall patterns. There are less additional risks in terms of increasing temperatures, prevalence of storms and the rise of sea levels. Other Thai cities have lower overall risks than Bangkok, but still face high risks from the spread of diseases and changes in rainfall patterns in the same manner as Bangkok. However, this assessment applied equal weighting for different variables in order to easily compare amongst cities. The fact is that different cities have different levels of risk for each variable ตารางที่ 1 ผลการประเมินความเสี่ยงในภาพรวม (เฉพาะ 10 ลำดับแรก และบางจังหวัดของไทย) Table 1 Assessment of Climate Change Risk (Top 10 Included some Thai Cities). เมือง (ลำดับ) City (Rank) เดลฮี/Delhi (1) ดัคคา/Dhaka (2) โฮจิมินห์ ซิตี้/Ho Chi Minh City (3) ตงกวน Dongguan (4) กัลกัตตา Kolkatta (5) กว่างโจว Guangzhou (6) กรุงเทพฯ/Bangkok (7) กัมเปอ/Kamper (8) จีนาน/Jinan (9) เทียนจิน/Tianjin (10) เชียงใหม่/Chiang Mai (16) พัทยา/Pattaya (25) ภูเก็ต/Phuket (42) ปัจจัย (Factor) คะแนนเฉลี่ย (Average Score) 1 2 3 4 5 6 7 8 5 3 4 4 2,3 4,5 0 0 3 3 4 1 1 4,3 4,1 3.5 1 2.55 2 3 1 1 4,3 2,1 3.5 4 2.45 3 1 1 3 2,5 0,0 4.5 5 2.45 4 3 1 1 3,3 3,1 3 2 2.4 3 1 1 2 5,2 0,0 5 5 2.4 2 5 1 3 5,2 0,0 3 3 2.4 3 3 4 5 1,3 2,3 0 0 2.4 4 1 5 3 1,5 3,1 0.5 0 2.35 4 1 2 3 2,5 0,0 2.5 4 2.35 3 5 1 5 5,3 0,0 0.5 0 2.25 2 5 1 3 5,2 0,0 1 1 2 1 5 1 2 3,3 0,0 1 1 1.7 หมายเหตุ : ในบางช่องมีระดับคะแนน 2 ค่า ซึ่งหมายถึงการประเมินในปี พ.ศ. 2573 และ 2623 ตามลำดับ Remarks : Some columns showing 2 difference of score represent assessment for the years 2030 and 2080, respectively. 41


วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์
To see the actual publication please follow the link above