เราก็มีแต่ก็ยังไม่เพียงพอต่อการใช้เองภายในประเทศต้องมีการนำเข้า อีกมหาศาล สิ่งที่บรรยายมาทั้งหมดนี้จะเรียกว่าเป็น “วิกฤติ” ได้หรือไม่ สิ่งที่ต้องจับตามองคือปริมาณการนำเข้าพลังงานทั้งในรูปของก๊าซ ธรรมชาติ น้ำมันดิบ หรือพลังงานไฟฟ้า จากประเทศเพื่อนบ้าน ที่นับ วันดูจะเพิ่มขึ้นอย่างน่าตกใจ โดยเฉพาะในแผนพัฒนาพลังงาน 2553 แต่ใครบ้างจะนึกว่านี่คือ “วิกฤติ” หลายคนอาจพูดเลยไปถึงว่า ถ้าไป สร้างโรงไฟฟ้าที่ประเทศเพื่อนบ้านได้ก็ยิ่งดี จะได้ไม่ต้องมายุ่งในเมือง ไทย แต่หารู้ไม่ว่าความคิดดังกล่าวกลับยิ่งจะนำวิกฤติ และความเสี่ยง ที่สูงขึ้นมาสู่ประเทศไทย!!! ในอดีตประเทศไทยได้เคยเผชิญวิกฤติพลังงานมาแล้วหลาย ครั้ง เราคงจำกันได้ถึงยุคที่ต้องมีการปันส่วนน้ำมัน หรือการปิดการ ออกอากาศโทรทัศน์ในบางช่วงเวลา เพื่อลดการใช้พลังงาน แต่เราก็ รอดพ้นจากวิกฤติเหล่านั้นมาได้ หลายๆ คนก็คงสงสัยว่าเรามาถึงวันนี้ ได้อย่างไร ลองมาดูสรุปอย่างเป็นขั้นเป็นตอน โดยเริ่มจากวิกฤติ พลังงานในครั้งล่าสุด ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2521 ในปีนั้นทั่วโลกเกิด วิกฤติพลังงาน ปริมาณน้ำมันที่ผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการ นอกจากนั้นในประเทศไทยเองก็ยังประสบปัญหาด้านการผลิตไฟฟ้า พูดง่ายๆ ก็คือไฟฟ้าไม่พอใช้ ทำให้รัฐบาลในช่วงนั้นต้องออกมา กำหนดมาตรการต่างๆ เพื่อลดการใช้พลังงาน ไม่ว่าจะเป็นมาตรการ ปิดสถานีบริการน้ำมัน หรือสถานีโทรทัศน์เพื่อลดการใช้ไฟฟ้าและ พลังงานแบบทันตาเห็น ถ้าใครเกิดทันก็คงจะจำสภาพในตอนนั้นได้ดี แต่ก็เหมือนโชคเข้าข้างคนไทย เพราะต่อมาอีกเพียง 3 ปี คือปี พ.ศ. 2524 มีการค้นพบ ก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย ซึ่งเป็นที่มาของการลงทุน สร้างโรงแยกก๊าซ และแนวท่อก๊าซมากมายมูลค่ามหาศาล โดย นายกรัฐมนตรีในช่วงเวลาดังกล่าวก็คือ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ท่านได้บัญญัติคำที่เราคุ้นหูกันดีว่า “โชติช่วงชัชวาล” ขึ้นเพื่อแสดงให้ เห็นว่าประเทศไทยพ้นจากวิกฤติแล้ว และกำลังจะมีอนาคตที่สดใส ด้วยพลังงานจากแหล่งก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยที่เราค้นพบ หลายๆ คนคงคิดว่าอนาคตประเทศเราน่าจะสดใส และก้าวขึ้น มาเป็นเสือแห่งเอเชียเทียบเท่าประเทศพัฒนาแล้วอย่างประเทศญี่ปุ่นได้ ในไม่ช้า แต่หารู้ไม่ว่าการที่เราค้นพบก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยนั้น ทำให้มีโครงการที่สำคัญโครงการหนึ่งต้องถูกเก็บใส่ลิ้นชักไว้จนถึง ปัจจุบัน โครงการที่ว่านี้ก็คือโครงการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ โดยก่อน ที่จะมีการค้นพบแหล่งก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยนั้น รัฐบาลมีมติให้ ศึกษาความเป็นไปได้ และกำหนดที่ตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกของ ประเทศเรียบร้อยแล้ว อยู่ที่อ่าวไผ่ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี แต่ ด้วยเหตุผลทั้งด้านการเมือง และด้านมวลชน รวมกับว่าเรามีแหล่ง ก๊าซธรรมชาติเองแล้ว รัฐบาลในช่วงนั้นจึงตัดสินใจเปลี่ยนเชื้อเพลิงใน การผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า หลายโรงให้เป็นก๊าซธรรมชาติ และนับ ตั้งแต่นั้นมา สัดส่วนในการใช้ก๊าซธรรมชาติเพื่อการผลิตไฟฟ้าของ ประเทศเรา ภายใต้การดำเนินการของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศ ไทย (กฟผ.) ก็มีส่วนแบ่งเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุด ก๊าซธรรมชาติจาก อ่าวไทยอย่างเดียวก็ไม่เพียงพอเสียแล้ว จนในที่สุด ประเทศไทยก็จำ ต้องตัดสินใจซื้อก๊าซธรรมชาติจากประเทศพม่าในปี พ.ศ. 2540 โดย ต้องวางแนวท่อก๊าซธรรมชาติจากประเทศพม่าเข้ามาทาง จังหวัด ราชบุรี เพื่อส่งจ่ายให้กับโรงไฟฟ้าหลายโรง จนถึงปัจจุบันเรามีสัดส่วน วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Journal of the Sirindhorn International Environmental Park step by step. It starts with the lastly energy crisis in Thailand in 1978, in the year that the world faced the energy crisis with insufficient fuel production. Thailand also had obtained insufficient power production or insufficient electricity utility. Consequently, the government announced measures to reduce energy consumption, such as, the close of petrol stations and TV stations in order to immediately reduce the use of electricity and energy. Someone was in that time may remember about that. However, it is lucky for Thailand in 1981 (3 years after that) a natural gas in the Gulf of Thailand was discovered. This led to the heavy investment of gas separations plant and gas pipeline projects. At that time, the Prime Minister was General Prem Tinsulanonda who gave a motto of “brilliant blazing moment” to display that Thailand was overcoming the crisis and will go ahead to a future prosperity because of the natural gas discovery in the Gulf of Thailand. Many people may think that our country would be prosperous in the future and would develop to be an Asian Tiger as same as developed countries and Japan. In fact, whereas gas was discovered, an important project has been given up. This project is a nuclear power plant. Before, the natural gas in the Gulf of Thailand was discovered, the government approved a feasibility study and determined the location of the first nuclear power plant established at Aow Pia, Sriracha District, Chonburi Province. But with political reasons and public concern, including the availability of natural gas in the Gulf of Thailand, the government decided to use natural gas in production of electricity. From that time, the ratio of natural gas using for electricity production in our country, under the supervision of the Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT), has been increasingly in the large portion of all energy sources, resulting in insufficiency. Finally, Thailand needed to buy natural gas from Myanmar in 1997. So, natural gas pipeline was laid from Myanmar through Ratchaburi Province to supply to several electricity power plants. Until now, the ratio of natural gas utility for electricity production reaching to 66% of total electricity (about one third sourced from Myanmar) and 20% by coal and lignite, 5% by renewable energy, and 2% by hydroelectricity. Thailand has continuously planned the national energy development. The Energy Policy and Planning Office under the Ministry of Energy is a cornerstone responsible agency. There are various conservation measures to carry out. However, the data in 2010 indicated the use of energy in a section of primary 45
วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์
To see the actual publication please follow the link above