Conclusion In summary, energy policies regarding the Sufficient Economy will enhance the process of energy resources supply with its sustainable growth through energy sufficiency drawing upon the notions of knowledge , reasonableness, moderation and self-immunity. All these, in practice, can be achieved by exploring and managing suitable alternative energy for country, aiming at efficient and economical energy use, reinforcing competitiveness of energy-related business, devising clean energy measures to promote sustainable environment including encouragement of participation in determining energy policy and measures by private sector and public. These practices would, in turn, help with the mapping out of the national energy in an attempt to form a solid foundation of the country’s sustainable use of energy in the long run. The trends in energy management do not stand in contradiction to the marketing system. Contrarily, the scheme formulates the energy management in moderation and develops clean energy for environmental conservation as well as promote community energy development and public participation. The participatory approach can secure national resources supply with sustainably efficient development in long term period. สรุป จากที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น จะเห็นว่า นโยบายพลังงานตาม แนวเศรษฐกิจพอเพียงจะส่งเสริมกระบวนการในการจัดสรรทรัพยากร พลังงานให้เติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ภายใต้องค์ความรู้ ความ มีเหตุผล ความพอประมาณ และการสร้างภูมิคุ้มกันบนรากฐานของ การพึ่งพาตนเองในด้านการจัดการพลังงาน ส่งเสริมพลังงานทดแทนที่ เหมาะสมกับประเทศ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและ ประหยัด ส่งเสริมการแข่งขันและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ในธุรกิจพลังงาน กำหนดมาตรการด้านพลังงานสะอาด เพื่อสนับสนุน สิ่งแวดล้อม รวมทั้งส่งเสริมให้ภาคเอกชนและประชาชนมีส่วนร่วมใน การกำหนดนโยบายและมาตรการด้านพลังงาน และนำไปสู่การได้มา ซึ่งยุทธศาสตร์ชาติด้านพลังงาน อันเป็นรากฐานของการกำหนด อนาคตด้านพลังงานของชาติอย่างมั่นคง การจัดการพลังงานตามแนว นี้จะไม่ขัดแย้งกับระบบตลาด ในทางตรงกันข้ามจะเป็นการจัดการ พลังงานแนวทางสายกลาง เป็นการพัฒนาพลังงานที่สะอาดเพื่อ พิทักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งส่งเสริมการพัฒนาพลังงานชุมชนและการมี ส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งจะเสริมสร้างความมั่นคงด้านการจัดสรร ทรัพยากรของประเทศให้มีการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ และมี ความยั่งยืนในระยะยาว วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร Journal of the Sirindhorn International Environmental Park 53
วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์
To see the actual publication please follow the link above