- ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ : ตัวแบบการบริหารจัดการเชิงภูมิสังคมจุดเดียวเบ็ดเสร็จเพื่อเกษตรกร - โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ : ต้นแบบการบริหาร จัดการทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด กล่าวในภาพรวม กระบวนทัศน์การพัฒนาตามแนว พระราชดำริ ล้วนเป็นการบริหารจัดการที่เรียบง่าย คำนึงถึง หลักการใหญ่ของธรรมชาติที่จะต้องพึ่งพิงกันและกัน รวมไปถึง เทคโนโลยีที่ดัดแปลงอย่างสอดคล้องกับระบบธรรมชาติ ตลอด จนประชาชนในท้องถิ่นสามารถนำไปปรับใช้ได้ตามแต่ละสภาพ ภูมิสังคม ซึ่งอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี นับเป็นโครงการสำคัญอีกแห่งหนึ่งที่ดำเนินตามรอยพระยุคลบาท ดังว่านี้ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร (The Sirindhorn International Environmental Park-SIEP) จัดตั้งขึ้นโดย กองบัญชาการตำรวจตะเวนชายแดน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ และมูลนิธิพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ 4 รอบ เมื่อปีพุทธศักราช 2546 บริหารจัดการโดยมูลนิธิอุทยาน สิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยมี ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล เป็นประธาน กรรมการมูลนิธิ ตั้งอยู่ ณ ค่ายพระรามหก ตำบลชะอำ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ ความรู้และฝึกอบรมด้านการอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สำหรับเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ประชาชน ทั่วไปทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ เพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้ และประสบการณ์ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยวางเป้าหมายในการเป็นศูนย์เรียนรู้ระดับสากล ด้านพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่ หลากหลายครบวงจร สร้างสรรค์นวัตกรรม เชื่อมโยงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทั้งในประเทศและต่างประเทศกับภูมิปัญญา ท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ดำเนินงานในลักษณะ เสมือนเป็นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต ทำหน้าที่ในการขยายผล เผยแพร่ การดำเนินงานอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ให้เป็นที่ ประจักษ์ต่อชาวไทยและชาวต่างประเทศ เป็นสถานที่ศึกษาเรียนรู้ ด้านการฟื้นฟูป่าชายเลน ป่าชายหาด ป่าเบญจพรรณ และที่อยู่ อาศัยของสัตว์นานาชนิด และเป็นสถานที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และเชิงประวัติศาสตร์ อันทรงคุณค่าของประเทศไทยและของโลก ปัจจุบันได้รับการรับรองให้จัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้ในภูมิภาคในการ treatment by natural process for natural environment. - Huai Sai Royal Development Study Center: a model of all inclusive and one-stop administration and management on sociogeography for farmers. - Chang Hue Mon Project: a model of cost-effective resource administration and management with maximum benefit. Overall, the development paradigm in line with HM the King involves plain management schemes, which take into account the principles of interdependency in nature, and include adaptive technologies relevant to natural systems. In addition, local people can modify and apply those technologies to fit each sociogeography. The Sirindhorn International Environmental Park (SIEP) at Phetchaburi Province is also one of the important Royal Initiative Projects; that is, SIEP was established by the Border Patrol Police Bureau, Huai Sai Royal Development Study Center and Foundation of Mrigadayavan Palace under the Patronage of HRH Princess Bejaratana Rajasuda Sirisobhabannavadi in commenmoration of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn’s 4th Birthday Anniversary in 2003. SIEP is administered by SIEP Foundation under Patronage of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn, which is chaired by Dr. Sumet Tantivejkul. SIEP is located at the Rama VI Camp, Cha-am Sub-district, Cha-am District, Phetchaburi Province. It is aimed to be a learning place and a medium for the dissemination of knowledge and training on conservation of energy, natural resources and environment for youths, school and university students and the general public, both Thais and foreigners. It is also expected to promote the knowledge and experiences that can be applied in day-to-day life by putting the goal of becoming an international learning center for the conservation of energy, natural resources and environment. SIEP has provided various and all inclusive of learning activities, creating of innovations, and connecting of science and technology both domestically and internationally, together with local wisdom for sustainable development. SIEP operates as a living natural museum and serves to expand and disseminate the works on the conservation of energy, natural resources and environment in light of the initiatives of HM the King and HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn to become clearly evident of the Thai people and foreigners. SIEP is a place to study and learn about mangrove rehabilitation, beach forest, mixed 6 โครงการพระราชดำริ / Royal Project
วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์
To see the actual publication please follow the link above