Page 4

การใช้พืชทนเค็มเพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็มชายทะเลใน พื้นที่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร

ABSTRACT The study on Biological method for rehabilitation coastal saline soil in the Sirindhon International Environmental Park was carried out at Sirindhon International Environmental Park, Cha-um district, Petchaburi province during 2010-2011. The objectives are to compare growth of halophytes in coastal saline soil and to study the effect of halophyte plantation on change of soil chemical properties and rehabilitation of coastal saline soil. The experimental design was randomized complete block design with 4 replications. Halophyte namely 1) Sporobolus virginicus (Dixie) 2) Sporobolus virginicus (Smyrna) 3) Distichlis spicata (Seabrook) 4) Spartina patens (Georgia) were studied. It found that Dixie grass showed highest survival percentage, higher than Smyrna grass, Georgia grass and Seabrook grass, respectively. Seabrook grass gave highest fresh weight and dry weight of 3167.1 and 1948.6 Kg/rai, higher than Georgia grass, Dixie grass and Smyrna grass, respectively. However, biomass varied with type of plants. And it found that Seabrook grass showed higher Na accumulation in stem. After the experiment, soil organic matter, available phosphorus, and available potassium were increased while soil electrical conductivity was decreased. Keywords : Coastal saline soil, Dixie (Sporobolus virginicus), Smyrna (Sporobolus virginicus), Sadbrook (Distichlis spicata), Georgia (Spartina patens) หลักการและเหตุผล ดินเค็มชายทะเล เป็นปัญหาที่ส าคัญอย่างหนึ่งในการท าการเกษตรบริเวณชายฝั่งทั้งภาคใต้และ ตะวันออกของประเทศไทย นอกจากปัญหาความเค็มของดินแล้ว ดินมีเนื้อดินเหนียวสูงมาก ท าให้ คุณสมบัติไม่เหมาะสมกับการท าการเกษตร นอกจากนี้ยังพบปัญหาสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมเนื่องจาก การพัฒนาชายฝั่งทะเลเพื่ออุสาหกรรม และการท าการเกษตรที่ไม่เหมาะสม ซึ่งแนวทางในการฟื้นฟูแก้ไข ปัญหาดินเค็มชายทะเล ควรพิจารณาให้สอดคล้องกับการใช้ประโยชน์ตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่ บริเวณนั้นๆ การน าพืชทนเค็มและพืชชอบเกลือมาปลูกก็เป็นวิธีการหนึ่งในการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็มที่ไม่ สามารถปลูกพืชเศรษฐกิจได้ เพื่อให้สามารถน ากลับมาใช้ประโยชน์ได้ ดังนั้น จึงน่าที่จะมีการศึกษาเปรียบเทียบชนิดพืชทนเค็มและพืชชอบเกลือที่สามารถปรับตัวในพื้น ที่ดินเค็มชายทะเล เพื่อที่จะใช้ประโยชน์ในการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็มต่อไป


การใช้พืชทนเค็มเพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็มชายทะเลใน พื้นที่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร
To see the actual publication please follow the link above