บทสรุปผลการศึกษา หิน/กระเบือ/ง 2.7% ไม้/ใบไม้ 4.6% อืน ๆ 5.2% แก้ว 21.0% 3.1% ผ้า 3.5% ยาง/หนัง 2.0% โลหะ 1.9% มูลนิธิอุทยานสิงแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เศษอาหาร 46.1% กระดาษ 9.8% พลาสติก 12 สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2) เทคโนโลยีการฝัง กลบแบบหมุนเวียนพื/นที โดยการนำก๊าซทีเกิดจากการฝัง กลบ มาใช้ในการผลิตไฟฟ้า และใช้การรื/อร่อนพลาสติกจากหลุมขยะทีฝัง กลบไว้นำมาเป็นวัตถุดิบในการผลิต กระแสไฟฟ้า โดยวิธีนี/มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนและการดำเนินการตํากว่าวิธีแรก (3) เทคโนโลยีการเผาขยะแบบ Mass Burn คือการนำขยะทัง/จำนวนทีไม่ได้ผ่านการคัด แยกเข้าเตาเผาเพือผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า โดยวิธีนี/มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนและการดำเนินการตําและ สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพทีสุด ซึงมีตัวอย่างหน่วยงานทีใช้เทคโนโลยีดังกล่าวข้างต้น ทีประสบความสำเร็จมาแล้วได้แก่ - โรงไฟฟ้าเตาเผาขยะภูเก็ต ทน. ภูเก็ต (เตา 2) - โครงการหลุมฝัง กลบราชาเทวะ จ. สมุทรปราการ บริษัท เจริญสมพงษ์ - โครงการหลุมฝัง กลบกำแพงแสน จ.นครปฐม บริษัท แอคทีฟ ซินเนอร์ยี จำกัด - บริษัท ซีนิท กรีน เอนเนยี และบริษัทบางกอก กรีน พาวเวอร์ - โรงไฟฟ้าพนมสารคาม บริษัทเจริญสมพงษ์ จำกัด - โรงไฟฟ้าขยะ SPP บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำกัด (มหาชน) 5.2 การศึกษา สำรวจวิเคราะห์ ข้อมูล การบริหารจัดการขยะในพื$นทีอ0ำเภอหัวหิน ชะอำ และปราณบุรี 1) ผลการสำรวจปริมาณ องค์ประกอบขยะในเขตพื/นที อำเภอหัวหิน ชะอำ ปราณบุรี พบว่า ลักษณะมูลฝอยทางกายภาพมีองค์ประกอบเฉลีย ดังนี/ เศษอาหาร 46.08% กระดาษ 9.82 % พลาสติก 21.02% แก้ว 3.12% โลหะ 1.89% ยาง/หนัง1.96% ผ้า 3.54% ไม้ใบไม้ 4.64% หิน/กระเบือ/ง 2.68% และอืนๆ 5.18% แสดงดังกราฟรูปที 1 รูปที 1 แสดงสัดส่วนองค์ประกอบขยะมูลฝอยทางกายภาพเฉลียของอำเภอหัวหิน ชะอำ และปราณบุรี
รายงานสรุปผลการศึกษา โครงการศึกษาและสำรวจศักยภาพในการจัดตั้งศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าบริเวณพื้นที่ชุมชนหัวหิน-ชะอำ
To see the actual publication please follow the link above