บทสรุปผลการศึกษา ส่วนกลาง และภาคประชาชนเพือพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนทุกด้าน เช่น โครงการธนาคารขยะ โครงการชุมชนปลอดขยะ มูลนิธิอุทยานสิงแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 11 สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ระดับความเข้มแข็งด้านการเงินการคลังขององค์กร พบว่ามีความเข้มแข็งแตกต่างกัน ไปตามความสามารถในการบริหารของผู้นำองค์กรของพื/นทีนัน/ๆ โดยอปท. ทีมีความเข้มแข็งทางการเงิน การคลังทีสามารถลงทุนในโครงการขนาดใหญ่เองได้ ได้แก่ ทน.สงขลา ทน.ตรัง ทน.อุดรธานี ทน.นครปฐม อบจ.ระยอง ทน.เชียงราย และ ทน.ขอนแก่น และอปท. ทีสามารถลงทุนในโครงการขนาดกลางเองได้ ได้แก่ ทน.นครราชสีมา ทม.กระบี ทน.ภูเก็ต ทน.หาดใหญ่ และ ทน.นครสวรรค์ - ความสามารถในการรวมกลุ่มขององค์กรใกล้เคียง จากข้อมูลทีศึกษา จะพบว่า อปท. ส่วนใหญ่ มีการรวมกลุ่มกับ อปท. ในพืน/ทีใกล้เคียง ซึงนำขยะมาทิง/ร่วมกันอยู่แล้ว ซึงบางแห่งยัง ได้มีการลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU) ร่วมกันด้วย 3) ผลการศึกษาสถานทีทีสามารถรองรับขยะมูลฝอยเพือพัฒนาเป็นเชือ/เพลิงผลิตกระแสไฟฟ้า หรือพลังงานความร้อน พบว่ามีแหล่งทีจะสามารถรองรับดังต่อไปนี/ (1) อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า ได้แก่ โรงไฟฟ้าขนาดเล็ก โดยมีค่าความร้อนของเชือ/เพลิง ทีต้องการอยู่ในช่วง 3,000 – 5,000 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัม ปริมาณเถ้าไม่เกินร้อยละ 5 และปริมาณ ความชื/น ประมาณร้อยละ 12 สำหรับปริมาณความต้องการเฉลียประมาณ 150-350ตันต่อวัน และมี ราคารับซือ/อยู่ที 1,700 บาทต่อตัน (2) อุตสาหกรรมซีเมนต์ ได้แก่ โรงปูนซีเมนต์ไทย โรงปูนทีพีไอ และอืนๆโดยมีค่าความ ร้อนของเชือ/เพลิงทีต้องการอยู่ในช่วงประมาณ 3,000 - 4,000 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัม ปริมาณเถ้าไม่เกิน ร้อยละ 10 และปริมาณความชืน/ อยู่ในช่วงประมาณ ร้อยละ 30 – 45 สำหรับปริมาณความต้องการเฉลีย ประมาณ 2,867 ตันต่อวัน และมีราคาทีสามารถรับซือ/ได้เฉลียที 942 บาทต่อตันขยะ (3) อุตสาหกรรมทีใช้หม้อนํ/า ได้แก่ โรงงานกระดาษ โดยค่าความร้อนของขยะเชือ/เพลิง ทีต้องการจะอยู่ในช่วง 3,000 – 6,000 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัม ปริมาณความชืน/ทีต้องการจะอยู่ในช่วง น้อยกว่าร้อยละ 5 ถึง ร้อยละ 30 และปริมาณเถ้า จะอยู่ในช่วง น้อยกว่าร้อยละ 5 สำหรับปริมาณ ความต้องการจะแบ่งตามประเภทเชือ/เพลิงทีโรงงานใช้ โรงงานทีใช้เชือ/เพลิงถ่านหินจะมีความต้องการ เฉลียประมาณ 58ตันต่อวัน ราคารับซื/ออยู่ที 1,140บาทต่อตัน ส่วนโรงงานทีใช้เชื/อเพลิงชีวมวลจะมี ความต้องการเฉลียอยู่ที 5 ตันต่อวัน และมีราคาทีสามารถรับซือ/ได้เฉลียที 900 บาทต่อตันขยะ 4) การทบทวนเทคโนโลยีการนำขยะมาผลิตพลังงานรูปแบบต่างๆทัง/ในและต่างประเทศ ทีมี ความเหมาะสมและมีโอกาสสำเร็จในประเทศไทย ได้แก่ (1) เทคโนโลยีการจัดการขยะแบบผสมผสานแบบMBT คือการจัดการคัดแยกขยะโดย เครืองจักรกลแล้วนำ วัตถุทีคัดแยกได้มาแปรรูปเป็นพลังงานในรูปแบบต่างๆ เช่น ก๊าซชีวภาพ ก๊าซเชือ/เพลิง การเผาไหม้โดยตรง โดยวิธีนี/มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนและการดำเนินการค่อนข้างสูง
รายงานสรุปผลการศึกษา โครงการศึกษาและสำรวจศักยภาพในการจัดตั้งศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าบริเวณพื้นที่ชุมชนหัวหิน-ชะอำ
To see the actual publication please follow the link above