Page 3

โกงกางต้นแรกในประเทศไทย ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี

นอกจำกนี้ กำรศึกษำภำยใต้กล้องสเตอริโอไมโครสโคป (Stereo Microscope) พบว่ำโกงกำงลูกผสมมีเกสรตัวผู้ (stamen) และ เกสรตัวเมีย (pistil) อยู่ในดอกเดียวกัน การศึกษาโครงการ“ศึกษาการขยายพันธุ์และการใช้ประโยชน์ของโกงกางลูกผสมในสวนป่าชายเลนทูลกระหม่อม” โดยกลุ่มวิจัยและพัฒนา อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร กลุ่มวิจัยและพัฒนำ อุทยำนสิ่งแวดล้อมนำนำชำติสิรินธร ได้ด ำเนินกำรศึกษำวิจัยโกงกำงลูกผสมในระหว่ำงปี พ.ศ. 2560-2562 โดยได้เก็บและวิเครำะห์ข้อมูลกำรเจริญเติบโตของโกงกำงลูกผสม โกงกำงใบใหญ่และโกงกำงใบเล็กที่อยู่ใกล้เคียงอย่ำงละ 1 ต้น ได้แก่ ควำมสูง เส้นรอบวง รัศมีเรือนยอด กำรเก็บซำกพืชที่ร่วงหล่น น ำตัวอย่ำงจำกพืชเพื่อตรวจสอบค่ำธำตุอำหำร N, P, K นอกจำกนี้ ได้ตรวจนับสัตว์หน้ำดินใต้ต้นโกงกำงทั้งสำมชนิด รวมทั้งกำรเก็บ ตัวอย่ำงดินเพื่อน ำส่งวิเครำะห์ปริมำณธำตุอำหำรในดิน และส่ง ตัวอย่ำงซำกพืชที่ร่วงหล่นท ำกำรวิเครำะห์ปริมำณธำตุอำหำร และ จดบันทึกข้อมูลปัจจัยด้ำนสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ได้แก่ ค่ำควำมเค็มของน ้ำ pH ของดิน อุณหภูมิดิน อุณหภูมิอำกำศ ควำมชื้นสัมพัทธ์และ ปริมำณ เกสรตัวเมีย (pistil) เกสรตัวผู้ (stamen) โครงสร้างของดอกโกงกางลูกผสม อุณหภูมิดิน อุณหภูมิอำกำศ ควำมชื้นสัมพัทธ์และปริมำณน ้ำฝน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำกำรเจริญเติบโตของโกงกำงลูกผสม เปรียบเทียบกับโกงกำงชนิดอื่นๆ และปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อโกงกำงลูกผสม ศึกษำกำรพัฒนำกำรขยำยพันธุ์โกงกำงลูกผสม ประโยชน์ใน ด้ำนกำรผลิตธำตุอำหำรจำกซำกพืชที่ร่วงหล่น ศึกษำปริมำณสัตว์หน้ำดินที่อำศัยบริเวณโกงกำงลูกผสมเปรียบเทียบกับบริเวณใกล้เคียง รวมทั้ง จัดประชุมเผยแพร่และแลกเปลี่ยนองค์ควำมรู้ระหว่ำงหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ท ำให้เกิดกำรต่อยอดไปสู่งำนวิจัยอื่นๆ


โกงกางต้นแรกในประเทศไทย ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above