Page 5

โกงกางต้นแรกในประเทศไทย ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี

3. การทาบกิ่งอาจไม่ใช่วิธีที่สามารถใช้ในการขยายพันธุ์แบบไม่ใช้เพศของโกงกางลูกผสมได้ เนื่องจากได้มีการทดลองทำการทาบกิ่ง ของโกงกางใบใหญ่ซึ่งปลูกในกระถางกับกิ่งของโกงกางลูกผสม แต่ไม่ติด อาจเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น การเลือกกิ่งโกงกางลูกผสมที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น กำรทดลองทำบกิ่งของโกงกำงใบใหญ่ในกระถำงกับกิ่งของโกงกำงลูกผสม กำรทดลองกำรขยำยพันธุ์แบบอำศัยเพศโดยกำรผสมเกสรของดอกโกงกำงใบเล็ก และโกงกำงใบใหญ่ 4. การทดลองขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยการผสมเกสรของดอกโกงกางใบเล็กและโกงกางใบใหญ่ จำนวน 1 ครั้ง ในปี 2562 โดยทำ การผสมเกสรตัวผู้ของดอกโกงกางใบใหญ่กับเกสรตัวเมียของโกงกางใบเล็ก และผสมเกสรตัวเมียของโกงกางใบใหญ่กับเกสรตัวผู้ของโกงกางใบ เล็ก และครอบด้วยถุงพลาสติก ผลการทดลองพบว่า การผสมเกสรตัวผู้ของดอกโกงกางใบใหญ่กับเกสรตัวเมียของโกงกางใบเล็กไม่ติดฝัก ส่วน การผสมเกสรตัวผู้ของดอกโกงกางใบเล็กกับเกสรตัวเมียของโกงกางใบใหญ่ พบว่ามีการติดฝักร้อยละ 60 แต่ร่วงหล่นในเวลาต่อมา ทั้งนี้อาจ เนื่องจากการขาดความเชี่ยวชาญในการใช้เทคนิค/วิธีการในการผสมเกสร 5. ผลจำกกำรเปรียบเทียบอัตรำกำรเจริญเติบโตของโกงกำงใบใหญ่ โกงกำงใบเล็ก และโกงกำงลูกผสม โดยกำรหำค่ำเฉลี่ยกำรขยำย ของรัศมีเรือนยอด อัตรำกำรเติบโตของเส้นรอบวง และอัตรำกำรเพิ่มขึ้นของควำมสูง (ต่อเดือน) ในช่วงเดือนมกรำคม 2560 ถึงเดือนกันยำยน 2562 ได้ผลสรุปดังนี้ 5.1 โดยรวมอัตรำกำรเจริญเติบโตของโกงกำงทั้งสำมชนิดมีแนวโน้มไปในทิศทำงเดียวกัน 5.2 โกงกำงลูกผสมมีค่ำเฉลี่ยอัตรำกำรขยำยของรัศมีเรือนยอดเป็นไปในทิศทำงเดียวกับโกงกำงใบเล็กและโกงกำงใบใหญ่ ตลอดทั้งปี แต่พบว่ำบำงช่วงโกงกำงลูกผสมมีค่ำเฉลี่ยอัตรำกำรขยำยของเรือนยอดที่ไม่แปรผันเท่ำกับโกงกำงใบใหญ่และโกงกำงใบเล็ก 5.3 อัตรำกำรขยำยของเส้นรอบวงของโกงกำงลูกผสมมีค่ำสูงสุดและต ่ำสุดสลับกับโกงกำงใบเล็กในบำงช่วงเวลำ ในขณะที่ต้น โกงกำงใบใหญ่ที่เลือกท ำกำรศึกษำมีกำรเปลี่ยนแปลงน้อยมำกตลอดช่วงเวลำของกำรศึกษำ 5.4 โกงกำงลูกผสมมีค่ำเฉลี่ยอัตรำกำรเพิ่มขึ้นของควำมสูงใกล้เคียงกับโกงกำงใบเล็กมำกกว่ำโกงกำงใบใหญ่


โกงกางต้นแรกในประเทศไทย ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above