Page 1

แผ่นพับโครงการการฟื้นฟูระบบนิเวศที่เหมา

1. คลองหลังศูนย์พลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม - วัตถุประสงค์ของโครงการ - 1) เพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศให้มีความเหมาะสมต่อการเป็นถิ่นอาศัย ของหิ่งห้อย 2) เพื่ออนุรักษ์ และเพิ่มจ านวนแมลงหิ่งห้อยในอุทยานสิ่งแวดล้อม นานาชาติสิรินธร 3) เพื่อสร้างองค์ความรู้และเผยแพร่ให้แก่ผู้ที่สนใจ สามารถน าไป ประยุกต์ในพื้นที่อื่นๆ ได้อย่างเหมาะสม - วิธีการด าเนินงาน - - ก าหนดพื้นที่ท าการฟื้นฟูระบบนิเวศให้มีความเหมาะสมขึ้นเพื่อ เป็นถิ่นอาศัยของหิ่งห้อยในอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จ านวน 3 จุด ได้แก่ จุดที่ 1 บริเวณคลองหลังอาคารศูนย์พลังงานเพื่อ สิ่งแวดล้อม จุดที่ 2 บริเวณริมคลองในป่าหลังศูนย์พลังงานเพื่อ สิ่งแวดล้อม และจุดที่ 3 บริเวณบ่อน ้าฝนแปลงสนับสนุนบริษัท เชฟรอน ประเทศไทย และมีวิธีด าเนินการฟื้นฟู ดังนี้ 1. ปล่อยหอยขม (Filopaludina martensi) จ านวน 3 จุด จ านวนรวม 50 กิโลกรัม ประมาณ 100,000 ตัว เพื่อเป็นอาหารส าหรับตัวอ่อน แมลงหิ่งห้อย 2. ปลูกไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก ได้แก่ เหงือกปลาหมอ ใบบัวบก เตยหอม อัญชัน แพรเซี้ยงไฮ้ หญ้ามาเลเซีย และต้นมะเดื่อชุมพร จ านวน 3 จุด รวมไปถึง ปลูกเหงือกปลาหมอ บริเวณสะพานเชื่อมคลองค่ายพระรามหก อีก 1 จุดด้วย เพื่อเป็นแหล่งอาศัย และแหล่งเกาะพักให้แก่แมลงหิ่งห้อยตัวเต็มวัย ใน บริเวณรากพืชยังเป็นแหล่งอาศัย แหล่งเกาะเกี่ยว และแหล่งหลบภัยให้แก่ ตัวอ่อนแมลงหิ่งห้อย 3. การจัดท าฝายชะลอน ้า จ านวน 2 จุด เพื่อกักเก็บน ้าให้มีปริมาณเพียงพอไม่ แห้งขอด ท าให้ระบบนิเวศมีความสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะพันธุ์พืชน ้า เพื่อ เป็นแหล่งอาศัยและหลบภัยของตัวอ่อนแมลงหิ่งห้อย ฝายชะลอน ้า บริเวณคลองหลังศูนย์พลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม ฝายชะลอน ้า บริเวณบ่อน ้าฝนแปลงสนับสนุนบริษัทเชฟรอน ประเทศไทย 4. ตรวจวัดค่าดัชนีด้านสิ่งแวดล้อม จ านวน 1 ครั้งต่อเดือน ครั้งละ 3 จุด พบว่า ค่าความเค็มของน ้าเท่ากับ 0 ppt. เป็นน ้าจืด ค่าความเป็นกรด-ด่าง ของดินประมาณ 6 เป็นกรดเล็กน้อย สัตว์น ้าที่พบจ านวน 3 ชนิด คือ หอยขม หอยเชอรี่ และแมลงจิงโจ้น ้า พันธุ์ไม้ที่พบจ านวน 4 ชนิด คือ ล าพู ธูปฤาษี ผักบุ้ง และบัวสาย 5. ส ารวจแมลงหิ่งห้อยในพื้นที่ทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง พบว่า จ านวน ประชากรหิ่งห้อยที่ส ารวจพบในปีงบประมาณ 2564 มีการเพิ่มจ านวน จากปีงบประมาณ 2563 คิดเป็น 7.3 เท่า เนื่องมาจากผลของการฟื้นฟู ระบบนิเวศ ท าให้มีการเพิ่มแหล่งอาหารและแหล่งอาศัยให้แมลง หิ่งห้อยในพื้นที่ 6. การตรวจวิเคราะห์คุณภาพน ้า จ านวน 3 จุด จุดละ 1 ตัวอย่าง โดย ตรวจค่าดัชนีคุณภาพน ้า ได้แก่ 1) ค่าความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD) 2) ค่าปริมาณออกซิเจนที่สารเคมีใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ (COD) 3) ค่าสารแขวนลอย (SS) 4) ค่าไนโตรเจนทั้งหมด (TN) และ 5) ค่าฟอสฟอรัสทั้งหมด (TP) พบว่า ตัวอย่างน ้าจากจุดที่ 1 และจุดที่ 2 มีสีเหลืองขุ่น มีกลิ่นเหม็นเล็กน้อย ตัวอย่างน ้าจุดที่ 3 มีสีเหลืองอ่อน มี กลิ่นเหม็นเล็กน้อย และค่าดัชนีคุณภาพน ้าของตัวอย่างน ้าทั้งหมดจาก ทุกจุดอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน สภาพแวดล้อมก่อนและหลังการฟื้นฟูพื้นที่ของโครงการฯ จ านวน 3 จุด หลัง ก่อน ก่อน หลัง ก่อน หลัง 2. ป่าหลังศูนย์พลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม 3. บ่อน ้าฝนแปลงสนับสนุนบริษัทเชฟรอน ประเทศไทย - สภาพแวดล้อมก่อนการฟื้นฟู มีธูปฤาษีและหญ้าขึ้นจ านวนมาก น ้าแห้งขอดในหน้าแล้ง ทั้ง 3 จุด โดยจุดที่ 1 มีการปนเปื้อนจากน ้าในห้องน ้า อีกทั้งจุดที่ 2 และ 3 มีผักบุ้งแพร่กระจาย หนาแน่น - สภาพแวดล้อมหลังการฟื้นฟู มีการก าจัดวัชพืช ขุดลอกคลองเพื่อก าจัดวัชพืชใต้น ้า และมีการ ท าฝายชะลอน ้าในจุดที่ 1 และ 3 เพื่อกักเก็บน ้า ให้มีปริมาณเพียงพอ ไม่แห้งขอด


แผ่นพับโครงการการฟื้นฟูระบบนิเวศที่เหมา
To see the actual publication please follow the link above