Page 2

แผ่นพับโครงการการฟื้นฟูระบบนิเวศที่เหมา

โครงการ “ฟื้นฟูระบบนิเวศที่เหมาะสมเป็นถิ่นอาศัยของหิ่งห้อย ในอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร” ประจ าปีงบประมาณ 2564 กลุ่มวิจัยและพัฒนาได้เล็งเห็นว่าบริเวณคลองหลังอาคารศูนย์พลังงาน เพื่อสิ่งแวดล้อม บริเวณริมคลองในป่าหลังศูนย์พลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม และบริเวณบ่อน ้าฝนแปลงสนับสนุนบริษัทเชฟรอน ประเทศไทย มี ศักยภาพในการเป็นถิ่นอาศัยของหิ่งห้อย จึงท าการฟื้นฟูระบบนิเวศให้ มีความเหมาะสมต่อการเป็นถิ่นอาศัยของหิ่งห้อย เพื่อเพิ่มจ านวนของ หิ่งห้อยในพื้นที่ของอุทยานฯ ในอนาคต จึงได้จัดท าโครงการ “ฟื้นฟู ระบบนิเวศที่เหมาะสมเป็นถิ่นอาศัยของหิ่งห้อยในอุทยานสิ่งแวดล้อม นานาชาติสิรินธร” ประจ าปีงบประมาณ 2564 - สิ่งที่จะด าเนินการต่อไป – 1. มีการปรับปรุงภูมิทัศน์ และการวางแผนการจัดการวัชพืชส่วนเกิน 2. การจัดการคุณภาพน ้า 3. การขยายพันธุ์พืชชนิดต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กับทุกระยะวงจร ชีวิตของหิ่งห้อย อาทิ เป็นแหล่งอาศัย เกาะเกี่ยว และหลบภัยให้แก่ตัว อ่อนหิ่งห้อย และที่มีน ้าหวาน เพื่อเป็นแหล่งอาหารให้หิ่งห้อยตัว เต็มวัย 4. ฟื้นฟูระบบนิเวศของหอยฝาเดียวให้มีความสมบูรณ์ขึ้น เพื่อเป็น การเพิ่มปริมาณอาหารของหิ่งห้อย 5. จดบันทึกข้อมูลของสัตว์ผู้ล่าในพื้นที่ เช่น ปลา และนก เป็นต้น จัดท าโดย: กลุ่มวิจัยและพัฒนา อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร เลขที่ 1281 ค่ายพระรามหก ต าบลชะอ า อ าเภอชะอ า จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทรศัพท์: 032-508-352 โทรสาร: 032-508-396 E-mail: siep@sirindhornpark.or.th Website: http://www.sirindhornpark.or.th/ Twitter: OfficialSiep Tiktok: @sieppark Instagram: @siep_official 1. จ านวนประชากรหิ่งห้อยที่ส ารวจพบในปี 2564 มีจ านวนเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2563 คิดเป็น 7.3 เท่า 2. เป็นผลจากการฟื้นฟูพื้นที่ศึกษาโครงการฯ ได้แก่ การปล่อยหอยขมเพื่อเพิ่มแหล่งอาหาร ปลูกพืชเพิ่มแหล่งอาศัย เกาะเกี่ยว และหลบภัยของหิ่งห้อย และท าฝาย ชะลอน ้า เพื่อกักเก็บน ้าในพื้นที่ให้มีปริมาณเพียงพอ ไม่แห้งขอด ท าให้มีระบบนิเวศเหมาะสมแก่การเติบโตของพืชน ้าซึ่งเป็นแหล่งอาศัย และหลบภัยของตัวอ่อนหิ่งห้อย 3. ค่าเฉลี่ยปริมาณน ้าฝนในปี 2564 เพิ่มขึ้นจากปี 2563 คิดเป็น 2 เท่า ดังนั้นปริมาณน ้าฝนจึงมีผลต่อการเพิ่มจ านวนหิ่งห้อย เพราะในระยะตัวอ่อนหิ่งห้อยต้องอาศัยอยู่ ในแหล่งน ้า ซึ่งประชากรมักมีจ านวนลดลงในหน้าแล้ง และเพิ่มขึ้นในหน้าฝน 4. ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิในพื้นที่มีความใกล้เคียงกันทั้ง 2 ปี ดังนั้นอุณหภูมิจึงไม่ได้มีผลต่อการเพิ่มจ านวนแมลงหิ่งห้อยในพื้นที่ศึกษาโครงการฯ


แผ่นพับโครงการการฟื้นฟูระบบนิเวศที่เหมา
To see the actual publication please follow the link above