สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 8.3 ลำดับนิวคลีโอไทด์ ลำดับเบสแกน อุณหภูมิในการจับเกาะ (Annealing temperature, TA) ขนาดผลผลิตของพีซีอาร์ และความเข้มข้นแมกนีเซียมคลอไรด์ (MgCl2) ของคู่ไพรเมอร์ที่ใช้ ในการศึกษา 86 8.4 จำนวนตัวอย่างเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยอัลลีลต่อตำแหน่ง ค่าเฉลี่ยเฮเทอโรไซโกซิตีจากการสังเกต (H0) และค่าเฉลี่ยเฮเทอโรไซโกซิตีจากการคาดหมาย (He) ในประชากรไผ่ป่า (Bambusa bambos) 90 9.1 ตัวอย่างกล้วยไม้รองเท้านารีเหลืองกระบี่ (Paphiopedilum exul) แหล่งต่างๆ ที่ใช้ใน การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรม 92 9.2 คู่ไพรเมอร์จำนวน 13 คู่ ที่คัดเลือกได้จากจำนวนคู่ไพรเมอร์ทั้งหมด 64 คู่คอมบิเนชั่น 94 9.3 ค่าเปอร์เซ็นต์ Polymorphic Loci ของกล้วยไม้รองเท้านารีเหลืองกระบี่ทั้ง 6 แหล่ง 96 9.4 ค่า Genetic diversity ของกล้วยไม้รองเท้านารีเหลืองกระบี่ทั้ง 6 แหล่ง 96 9.5 ค่า Genetic distances และ Identities distance (Nei's, 1973; 1978) ของ กล้วยไม้รองเท้านารีเหลืองกระบี่ทั้ง 6 แหล่ง 97 10.1 ตัวอย่างไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) จากแหล่งต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษาความ หลากหลายทางพันธุกรรม 101 10.2 แสดงจำนวนค่าเฉลี่ยอัลลีลต่อตำแหน่ง ในประชากรไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) 103 10.3 แสดงค่าเฉลี่ยเฮเทอโรไซโกซิตีจากการสังเกต (Ho) ค่าเฉลี่ยเฮเทอโรไซโกซิตีจากการ คาดหมาย (He) ในประชากรไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) 104 10.4 แสดงค่าสัมประสิทธิ์เอฟ (F-coefficient) ในแต่ละตำแหน่งของไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) 104 10.5 แสดงค่าระยะห่างระหว่างพันธุกรรม (genetic distance) ของไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) 12 ประชากร 105 11.1 ตัวอย่างใบและเปลือกไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) ที่ใช้ในการศึกษา 110 11.2 แฮปโพลไทป์โดยการวิเคราะห์รวมลำดับนิวคลีโอไทด์ที่ได้จากส่วน trnS-trnG, trnV-trnM และ trnC-petN1R เข้าด้วยกันในไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) 112 12.1 ตัวอย่างไม้ชิงชัน (Dalbergia oliveri) จากแหล่งต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษาความหลากหลาย ทางพันธุกรรม 116 12.2 ตารางแสดงไพร์เมอร์ที่ใช้ในการหาความหลากหลายในไม้ชิงชัน (Dalbergia oliveri) 117
การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above