Page 11

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 12.3 แสดงจำนวนค่าเฉลี่ยอัลลีลต่อตำแหน่ง ในประชากรไม้ชิงชัน (Dalbergia oliveri) 119 12.4 แสดงค่าเฉลี่ยเฮเทอโรไซโกซิตีจากการสังเกต (Ho) ค่าเฉลี่ยเฮเทอโรไซโกซิตีจากการ คาดหมาย (He) ในประชากรไม้ชิงชัน (Dalbergia oliveri) 121 12.5 แสดงค่าสัมประสิทธิ์เอฟ (F-coefficient) ในแต่ละตำแหน่งของไม้ชิงชัน (Dalbergia oliveri) 121 12.6 แสดงค่าระยะห่างระหว่างพันธุกรรม (genetic distance) ของไม้ชิงชัน (Dalbergia oliveri) 122 13.1 รายชื่อแหล่ง (ประชากร) ของพันธุ์ไม้ที่ศึกษา 126 13.2 ไอโซเอนไซม์ 11 ระบบที่ใช้ศึกษาในไม้ป่า 128 13.3 การประเมินอัตราผสมตัวเอง (Selfing rate) ของไม้สนสองใบ (Pinus merkusii) 129 14.1 ไม้ประเภท ก. ไม้หวงห้ามธรรมดา ตามพระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2530 136 14.2 ไม้ประเภท ข. ไม้หวงห้ามพิเศษ 142 14.3 ตารางแสดงผลการถอดรหัสลำดับนิวคลีโอไทด์ในพันธุ์ไม้ป่าหวงห้ามและไม้ป่าในบัญชี CITES ในประเทศไทย โดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ 3 ตำแหน่ง ได้แก่ Maturase K, rbcl (Ribulose Bisphosphate Carboxylase large chain) และ trnH-psbA (intergenic spacer) 148 16.1 ไม้สะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) และไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) จากแหล่งและประเทศต่างๆที่ใช้ในการศึกษาโดยเก็บรวบรวมจากสถานีทดลองปลูก นานาชาติ จ.กาญจนบุรี 160 16.2 ลำดับนิวคลีโอไทด์จำนวน 10 ตำแหน่งที่มีความผันแปรในยีน matK ที่มีขนาด 930 คู่ เบส โดยมีความจำเพาะกับไม้สะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis) และ ไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) 164 17.1 ไพร์เมอร์ที่ใช้ในการศึกษา 170 21.1 แสดงค่าระยะห่างระหว่างพันธุกรรม (genetic distance) ของสัก (Tectona grandis) 11 ประชากร 187 22.1 แสดงลักษณะทางพันธุกรรมของชิ้นไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) ของกลาง และตอไม้พะยูง (D. cochinchinensis) จากการวิเคราะห์ไมโครแซทเทลไลท์ 9 ตำแหน่ง 191


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above