Page 137

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

117 ตารางที่ 12.2 ตารางแสดงไพร์เมอร์ที่ใช้ในการหาความหลากหลายในไม้ชิงชัน (Dalbergia oliveri) Marker name Primer sequences (5´-3´) Remark OLI_05 F: GGATCAATTGGAGCCATACG R: TTTGCGACTCTCGTGTAGTGA microsatellite markers for D. oliveri (Hatvig et al., 2017) OLI_06 F: ACTGGTAGGCCGACTTAACG R: AAAATAGGCCATCATTAGTTTGC OLI_14 F: TGAAATAAACCTAGCATCGACA R: TGTTAGCATGAAGACAGGGTT OLI_15 F: TTCATCAATGGTGGAGTTGG R: CTGGCCAACCAGAATGATCT OLI_16 F: TAGAGGAGGGAAAGGAAGGG R: AGCTGCCCTTCAGTTACAGTAT OLI_17 F: ATCATTCCATGTGGCTTCCA R: TTTGATACTGATCTAACCACTGTCTT OLI_19 F: TTGATCATTACCCTTATTAGCCTT R: CAGGAAGAAATTACAACCCCA COC_06 F: CCTACGATGTTCTACGGGGA R: ACCGATGACTGATGAGGTGA COC_07 F: AATAATCTTCCATTCCTTCTTTGC R: TGAAGGACCAAGAGACACGG DL4 F: AAATCAAGAGCATTGGGTCAA R: TTCACAGGTTTCGTCGTTCC (สุจิตรา และคณะ, 2552) ที่มา: สุจิตรา และคณะ, 2564 ผลการศึกษาวิจัยและวิจารณ์ การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรไม้ชิงชัน โดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอชนิด ไมโครแซทเทลไลท์ จำนวน 10 ตำแหน่ง ซึ่งตัวอย่างของความแตกต่างลักษณะทางพันธุกรรมในตัวอย่างที่ศึกษา แสดงใน ภาพที่ 12.1 และ 2 จำนวนอัลลีลในแต่ละตำแหน่งของเครื่องหมายดีเอ็นเอชนิดไมโครแซทเทลไลท์ สำหรับทุกประชากรที่ศึกษามีค่าอยู่ระหว่าง 1-18 อัลลีล ดังแสดงใน ตารางที่ 12.3


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above