Page 142

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

122 ทั้งนี้ ตารางที่ 12.6 และ ภาพที่ 12.3 ได้แสดงระยะห่างทางพันธุกรรมระหว่างประชากร ไม้ชิงชัน 12 ประชากร เมื่อนำมาจัดกลุ่มความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมด้วยวิธี UPGMA พบว่าสามารถ จัดกลุ่มไม้ชิงชันที่ศึกษาได้เป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 จากพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูแลนคา จ. ชัยภูมิ อุทยานแห่งชาตินายูง-น้ำโสม จ.อุดรธานี และเตรียมการอุทยานแห่งชาติภูหินจอมธาตุ - ภูพระบาท จ. อุดรธานี, กลุ่มที่ 2 จากพื้นที่อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง จ. สุโขทัย, กลุ่มที่ 3 จากพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา จ. เชียงใหม่ อุทยานแห่งชาติแม่วาง จ. เชียงใหม่ และอุทยานแห่งชาติถ้ำผาไท จ. ลำปาง, กลุ่มที่ 4 จากพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว จ. มุกดาหาร อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย จ. อุบลราชธานี และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยศาลา จ. ศรีสะเกษ และกลุ่มที่ 5 จากพื้นที่อุทยานแห่งชาติน้ำตกคลอง แก้ว จ. ตราด ตารางที่ 12.6 แสดงค่าระยะห่างระหว่างพันธุกรรม (genetic distance) ของไม้ชิงชัน (Dalbergia oliveri) RKH TPT LND LNM HSL PUD PJ KTR PLC PSD MAV NYN RKH * TPT 0.1607 * LND 0.1372 0.0421 * LNM 0.1515 0.0415 0.0242 * HSL 0.2272 0.2331 0.2310 0.2445 * PUD 0.0836 0.1342 0.1424 0.1425 0.1784 * PJ 0.1822 0.1859 0.1888 0.2017 0.0412 0.1452 * KTR 0.1666 0.1800 0.1718 0.1885 0.0875 0.1369 0.0701 * PLC 0.1097 0.1284 0.1269 0.1323 0.1665 0.0566 0.1415 0.1226 * PSD 0.1753 0.2037 0.1948 0.2083 0.0881 0.1470 0.0447 0.0880 0.1501 * MAV 0.1418 0.0419 0.0210 0.0379 0.2540 0.1416 0.1957 0.1917 0.1298 0.2037 * NYN 0.1065 0.1212 0.1220 0.1276 0.1766 0.0626 0.1414 0.1346 0.0181 0.1540 0.1134 * ที่มา: สุจิตรา และคณะ, 2564


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above