Page 190

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

170 ตารางที่ 17.1 ไพร์เมอร์ที่ใช้ในการศึกษา ตำแหน่งของดีเอ็น เอที่ศึกษา ไพรเมอร์ (5′–3′) แหล่งที่มา cpDNA region atpB-rbcL spacer F: GAAATGGAAGTTAGCACTCG R: AAGATTCAGCAGCTACCGCA nDNA region DLDH F: TGGATGGTCATATAGCTCT R: GAACAAGCTCCCCTGCATTAG SBE2 F: CAAAGTTTGTGAGTCTTATC R: GTCCTGACATTAAAACAGCC FMRrm11 F: TTTCTATTTATGATCCCATCATCTC R: GCGTTTAACTGCCACAATTC ที่มา: Changtragoon et al., 2016 ผลการศึกษาวิจัย 1.การพิสูจน์ว่าไม้โกงกางลูกผสมว่าเป็นลูกผสมจริงหรือไม่ Inomata et al. (2009) Ng et al. (2015) Inomata et al. (2009) Ng et al. (2015) Inomata et al. (2009) Ng et al. (2015) Cerón-Souza et al. (2010) Ng et al. (2015) การพิสูจนโกงกางลูกผสมว่าเกิดจากการผสมของโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) กับโกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) หรือไม่นั้นพิสูจน์โดยการถอดหรัสพันธุกรรมโดยยีนในนิวเคลียส 3 ยีน โกงกางทั้ง 3 คือ DLDH ขนาด 1088 bp SBE2 ขนาด 708 bp และ FMRrm11 ขนาด 540 ผลการศึกษาพบว่าโกงกาง ลูกผสมดังกล่าวมียีนที่จำเพาะของทั้งโกงกางใบเล็ก (R. apiculate) และโกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) จึงสรุปได้ว่าโกงกางลูกผสมเป็นลูกผสมระหว่างโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) และโกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) จริง (ภาพที่ 17.2) 2. การพิสูจน์ว่าโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) หรือใบใหญ่เป็นต้นแม่ของโกงกางลูกผสมดังกล่าว การพิสูจน์ต้นแม่โดยการการถอดรหัสพันธุกรรมในคลอโรพลาสต์ยีนในโกงกางลูกผสมดังกล่าว โดย เปรียบเทียบระหว่างโกงกางใบเล็ก (R. apiculata) และโกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) พบว่าโกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) เป็นต้นแม่และยีนที่จำเพาะถูกถ่ายทอดโดยโกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) (ภาพที่ 17.3)


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above