179 pyrimidine ด้วยเบส purine เช่น A ↔ T , C ↔ G, A ↔ C และ T ↔ G รายละเอียดผลการศึกษาความ แตกต่างของลำดับนิวคลีโอไทด์และความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม ได้แสดงใน Changtragoon et al. (2017) สรุปผลการวินิจฉัยพันธุกรรม 1. การศึกษาวิจัยตัวอย่างเนื้อไม้ของกลางต้องสงสัยจำนวน 1 ตัวอย่าง ซึ่งได้ทำการวิเคราะห์โดย การถอดรหัสพันธุกรรมยีนในส่วนของคลอโรพลาสต์จีโนม คือ psbA-trnH พบว่าตัวอย่างเนื้อไม้ของกลางมี ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมใกล้เคียงกับไม้มะม่วงที่เป็นมะม่วงบ้าน 2. ได้จัดส่งรายงานผลการวินิจฉัยพันธุกรรมอย่างเป็นทางการจากกรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ไปยัง สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 14 (ตาก) ที่ ทส 0924.5/2232 ลงวันที่ 26 มิถุนายน 2558 เพื่อดำเนินตามขั้นตอนต่อไป
การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above