196 ของต้นไม้พะยูง (D. cochinchinensis) ต้นที่ถูกลักขุดยกเอาไปหรือไม่ โดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอชนิด ไมโครแซทเทลไลท์ (microsatellite markers) 12 เครื่องหมายดีเอ็นเอพบว่า 2.1 วัตถุพยานรายการที่ 1 และ 2 มีลักษณะทางพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) ไม่ตรงกัน แสดงดังตารางที่ 23.1, ภาพที่ 23.2 และ ภาพที่ 23.3 2.2 วัตถุพยานรายการที่ 3 และ ที่ 4 มีลักษณะทางพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) ตรงกัน แสดงดังตารางที่ 23.1, ภาพที่ 23.2 และ ภาพที่ 23.3 2.3 วัตถุพยานรายการที่ 1 และ 2 มีลักษณะทางพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) ไม่ตรงกันกับวัตถุพยานรายการ ที่ 3 และ ที่ 4 แสดงดังตารางที่ 23.1, ภาพที่ 23.2 และ ภาพที่ 23.3 ประดู่แขก ภาพที่ 23.1 Phylogenetic tree แสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของวัตถุพยานรายการที่ 1, 2, 3 และ 4 เปรียบเทียบกับไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) ในยีน rbcl ซึ่งคำนวณตามวิธี Neighbour Joining แบบ Bootstrap โดยโปรแกรม MEGA 4 ชิงชัน ประดู่ป่า พะยูง 3 4 2 HK5 Dalbergia cochinchinnesis 1 HK11 Dalbergia sissoo HK4 Dalbergia orivery NLG20 Dalbergia assamica NLG18 Pterocarpus marcocarpus NLG32 Phyllocarpus septentrionalis 0.005 ประดู่แดง เก็ดดำ
การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above