201 ตามหมายเลขซองลำดับที่ 3.1 (ขี้เลื่อยบริเวณรถไถที่ต้องสงสัย) และวัตถุพยานรายการที่ 8.1 ตามหมายเลข ซองลำดับที่ 1.3 (ใบไม้และกิ่งไม้ที่เก็บจากตอไม้ที่เกิดเหตุ) มีลักษณะทางพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) เหมือนกัน ดังตางรางที่ 24.1 ภาพที่ 24.2 และภาพที่ 24.3 ภาพที่ 24.1 Phylogenetic tree แสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมวัตถุพยานตามหมายเลขซองลำดับที่ 1.3, 2.2, และ 3.1 ในยีน trnH+psbA เปรียบเทียบกับฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) ไม้ชิงชัน (D. oliveri) กระพี้เขาควาย (D. cultrata) และ ไม้ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ซึ่งคำนวณตามวิธี Neighbour Joining แบบ Bootstrap โดยโปรแกรม MEGA 4 ตารางที่ 24.1 แสดงลักษณะทางพันธุกรรมของวัตถุพยานตามหมายเลขซองลำดับที่ 1.3, 2.2, 3.1 และ ตัวอย่างไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) จากแหล่งอื่นที่ใช้เปรียบเทียบจากการ วิเคราะห์เครื่องหมายดีเอ็นเอชนิดไมโครแซทเทลไลท์ 10 ตำแหน่ง วัตถุพยาน ไพรเมอร์ของเครื่องหมายดีเอ็นเอ 10 ตำแหน่ง Coc 11 Coc 8 Coc 6 Coc 5 DELB 18 Coc 18 Coc 7 Coc 13 DL 4 DELB 120 1.3 (ใบไม้ที่เก็บจากบริเวณตอไม้ที่เกิดเหตุ) 11 11 22 12 11 33 11 22 11 22 2.2 (เศษไม้จากที่แปรรูปไม้) 11 11 22 12 11 33 11 22 11 22 3.1 (ขี้เลื่อยบริเวณรถไถ) 11 11 22 12 11 33 11 22 11 22 ตัวอย่างไม้พะยูงจากอช. ภูเก้าภูพานคำ 12 24 11 22 11 35 11 22 11 22 ตัวอย่างไม้พะยูงจาก อช. ผาแต้ม 11 33 23 22 11 12 11 13 11 12 ตัวอย่างไม้พะยูงจาก อช. ภูเวียง 11 12 11 22 11 34 12 22 11 22
การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above