Page 27

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

7 ตารางที่ 1.2 ตัวอย่างของการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพันธุ์พืชและไม้ป่าเขตร้อนและการ ประยุกต์ใช้ในการอนุรักษ์พันธุกรรมภูมิภาคเอเชียพอสังเขป ชนิดไม้ แหล่งของข้อมูล Calamus palustris Calamus spp. Pinus merkusii Paulownia taiwaniana Tectona grandis Agathis borneensis Stemonoporus oblongifolius Pterocarpus macrocarpus Drybalanops spp. Azadarachta spp. Diptercarpus alatus Rhizophora apiculata R. mucronata Bambusa bambos Dalbergia chochinchinensis D. oliveri Changtragoon et al., 1995; Changtragoon, 1998 Bon et al., 1995 Changtragoon and Finkeldey, 1995a; Szmidt et al.,1996a Finkeldey, 1992 Kertadikara and Prat, 1995; Changtragoon, 2001a; Changtragoon and Szmidt,1999; 2000 Kitamura and Rahman, 1992 Murawski and Bawa, 1994 Liengsiri et al., 1995 Shiraishi et al., 1994 Changtragoon et al., 1996a Changtragoon, 2001b สุจิตรา, 2550 สุจิตรา, 2550 รังสัน และสุจิตรา, 2548 สุจิตรา และคณะ, 2561 สุจิตรา และคณะ, 2564 1.3 การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของประเทศไทย ในประเทศไทยโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมและปรับปรุงพันธุ์ไม้ป่าโดยการประยุกต์ใช้เครื่องหมาย ไอโซเอนไซม์ยีน และเครื่องหมายดีเอ็นเอ (isoenzyme gene และ DNA markers) เพื่อนำมาจำแนกชนิด พันธุ์ clone แม่ไม้พันธุ์ดี พิสูจน์ลูกผสม ตลอดจนการประเมินสถานภาพแหล่งพันธุกรรมโดยการศึกษาความ หลากหลายทางพันธุกรรมและระบบการสืบพันธุ์ของไม้ป่าหลายชนิด ซึ่งจากผลงานที่ผ่านมาได้นำ isoenzyme gene markers มาใช้จำแนกพันธุ์ไม้สะเดาไทย สะเดาอินเดียและไม้เทียม (Changtragoon et al., 1996a) ออกจากกันซึ่งมีความแตกต่างทางพันธุกรรมค่อนข้างมาก และได้ศึกษาเพิ่มเติมซึ่งจาก ผลการวิจัยที่ได้อาจกล่าวได้ว่า ไม้สะเดาไทยเป็นพันธุ์ไม้สะเดาอีกชนิดหนึ่ง ( Species) ไม่ใช่เป็นสายพันธุ์ หนึ่งของไม้สะเดาอินเดีย และได้มีการศึกษาเพิ่มเติมใน Maturase K gene ในคลอโรพลาสต์จีโนม (สุจิตรา, 2554) มีผลการศึกษาไปในทิศทางเดียวกัน ตามที่เข้าใจแต่ครั้งก่อนอย่างไรก็ตามได้ทำการศึกษาการ ถอดรหัสพันธุกรรมในดีเอ็นเอในยีนเพิ่มเติมรวมทั้งศึกษาในเครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์เพื่อเป็นข้อมูล


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above