69 การสกัด DNA สกัด DNA ของไม้โกงกางใบเล็กและไม้โกงกางใบใหญ่ โดยสกัดจากใบอ่อนของไม้โกงกาง ใบเล็ก และไม้โกงกางใบใหญ่แต่ละต้นโดยใช้ CTAB buffer ซึ่งขั้นตอนการสกัดได้ดัดแปลงมาจาก Doyle and Doyle (1990) และ Changtragoon et al. (1996b) ซึ่ง DNA ที่สกัดได้ ได้นำมาละลายและ เก็บรักษาใน TE buffer 0.1 mM EDTA ตารางที่ 7.1 แหล่ง (ประชากร) และขนาดของตัวอย่างของไม้โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) ในประเทศไทย ลำดับ (Number) ชื่อแหล่ง (ประชากร) (Population Name) จำนวนของตัวอย่าง (Sample size) 1 หมู่บ้านแสมชัย จ.เพชรบุรี (Samaechay, Petchaburi ) 40 2 หมู่บ้านบางขุนไทร อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี(Bangkunsai, Pechaburi) 17 3 เขตบางขุนเทียน กรุงเทพ (Bangkuntien, Bangkok ) 30 4 อ่าวคุ้งกระเบนอ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี (Kungkraben, Chantaburi ) 37 5 อ. เมือง จ.ตราด (Amphoe Muang, Trat ) 28 6 อ.คลองพร้าว เกาะช้าง จ.ตราด (Klong Prao, Chang Island, Trat) 27 7 หมู่บ้านสลักคอก เกาะช้าง จ.ตราด (Salak Kok, Chang Island, Trat) 25 8 อ.ขลุง จ.จันทบุรี (Klung, Chantaburi) 30 9 ต.ทุ่งคา อ.เมือง จ.ชุมพร (Thungka, Chumporn) 40 10 อ.สวี จ.ชุมพร (Sawee, Chumporn) 12 11 อ. เมือง จ.สตูล (Amphur Muang, Satoon) 19 12 อ. เมือง จ.ระนอง (Amphur Muang, Ranong) 28 13 อ.ดอนสัก จ.สุราษฏร์ธานี (Donsak, Suratthani) 19 14 อ.ขนอม จ.สุราษฎร์ธานี (Kanom, Suratthani) 11 15 จ.สงขลา (Songkhla) 28 16 เกาะภูเก็ต (Phuket Island) 35 17 อ.กันตัง จ.ตรัง (Kantang, Trang) 17 18 อ. เมือง จ.สุราษฏร์ธานี (Amphur Muang, Suratthani) 30 19 ต.ท่าแดง จ.กระบี่ (Tha Dang, Krabi) 29 20 ต.ท่าพรุ จ.กระบี (Tha Pru, Krabi) 40 ค่าเฉลี่ย (Average) 27.1 ที่มา: สุจิตรา, 2550
การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above