Page 4

จดหมายข่าวห้องสมุดพลังงานและสิ่งแวดล้อม Issue5

จดหมายข่าวห้องสมุดพลังงานและสิ่งแวดล้อม 4 มลพิษทางน��้ำ บนพื้นที่โลกมีน��้ำร้อยละ 97 และมีเพียงร้อยละ 1 เท่านั้นที่เป็นน��้ำจืดที่น��ำมาใช้ในการ อุปโภคบริโภคของสิ่งมีชีวิต “น��้ำ” จึงเป็นปัจจัยที่ส��ำคัญในการด��ำรงชีวิตมนุษย์ ดังนั้น หากเกิดมลพิษทางน��้ำจะท��ำให้น��้ำมีกลิ่นและสีที่น่ารังเกียจ อีกทั้งยังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ เชื้อโรค ส่งผลท��ำให้มีปริมาณน��้ำที่สามารถน��ำไปใช้ประโยชน์ได้น้อยลง ในปัจจุบันปัญหาการขาดแคลนน��้ำและการเกิดมลพิษทางน��้ำยิ่งทวีความรุนแรง ขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากน��้ำในแหล่งน��้ำมีคุณภาพลดลงและมีการใช้น��้ำในกิจการต่าง ๆ มากขึ้น อันได้แก่ การท��ำเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การใช้น��้ำในครัวเรือน และธุรกิจ บริการต่าง ๆ มลพิษทางน��้ำ หรือ “น��้ำเสีย” หมายถึง สภาพน��้ำที่เสื่อมคุณภาพผิดแปลกไป จากสภาพธรรมชาติเดิม เนื่องจากมีสิ่งแปลกปลอมเข้าไปปะปนในน��้ำ เช่น สารอินทรีย์ กัมมันตรังสี หรือสิ่งมีชีวิต จนท��ำให้มนุษย์ สัตว์ และพืชได้รับอันตรายทั้งทางตรงและทางอ้อม สภาพน��้ำเช่นนี้ไม่เหมาะต่อการด��ำรงชีวิตของสัตว์ที่อาศัยในน��้ำ รวมถึงไม่เหมาะต่อการบริโภคและ อุปโภคของมนุษย์ เช่น น��้ำมีสีผิดปกติ มีกลิ่นเหม็น น��้ำที่มีสารเคมีที่เป็นพิษหรือเชื้อโรคปะปนอยู่รวมทั้งน��้ำที่มีอุณหภูมิสูง ผิดปกติ ลักษณะน��้ำเสียหรือมลพิษทางน��้ำเป็นอย่างไร • มีสารอินทรีย์ปนเปื้อนอยู่สูง • มีเชื้อโรค หรือจุลินทรีย์ • มีสารแขวนลอย • น��้ำมีอุณหภูมิสูง • มีเกลือละลายหรือเจือปนอยู่ • มีคราบน��้ำมัน ไขมันเจือปนมาก • มีกัมมันตรังสี • มีสารพิษ เช่น ปรอท ตะกั่ว แคดเมียมอยู่ในระดับอันตราย มลพิษทางน��้ำมีผลอย่างไรบ้าง ด้านสุขภาพ น��้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมที่มีสารเจือปน สามารถท��ำลายสุขภาพของมนุษย์เราได้ทั้งโดยตรง และทางอ้อม ซึ่งหากมีการสะสมในระยะยาวก็อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพได้ เช่น โรคมินามาตะ เกิดจากการ รับประทานปลาที่มีปรอทสูง นอกจากนี้แม่น��้ำล��ำคลองที่เน่าเสียยังส่งกลิ่นเหม็น เป็นการบั่นทอนสุขภาพของผู้อาศัยอยู่ ริมแม่น��้ำล��ำคลอง และผู้สัญจร ด้านการอุปโภคและบริโภค แหล่งน��้ำส��ำหรับผลิตน��้ำประปาส่วนใหญ่ ได้แก่ ล��ำคลอง เมื่อแหล่งน��้ำเหล่านี้เกิดเน่าเสีย คุณภาพน��้ำจึงลดลง ท��ำให้ค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิตเพื่อให้ได้น��้ำที่มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานน��้ำดื่มเพิ่มขึ้น การเลือกแหล่งน��้ำและการปรับปรุงคุณภาพเพื่อผลิตเป็นน��้ำจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากขึ้นด้วย


จดหมายข่าวห้องสมุดพลังงานและสิ่งแวดล้อม Issue5
To see the actual publication please follow the link above